fbpx

Politics

7 Dec 2023

ตากใบ (ยัง) ไม่ให้อภัย จนกว่าเสียงร่ำไห้ใต้ฮิญาบจะสิ้นสุด

101 ชวนสำรวจเรื่องเล่าจากตากใบผ่านปากคำผู้ได้รับผลกระทบและครอบครัว ทั้งการอยู่กับความสูญเสีย การพยายามทำความเข้าใจโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้น การถูกกดดันคุกคามจากรัฐให้เงียบเสียงลง

วจนา วรรลยางกูร

7 Dec 2023

Social Movement

29 Nov 2023

นักสันติวิธีท้าทายและทำให้ความรุนแรงเป็นเรื่องไร้เหตุผลได้อย่างไร

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง ชวนมองเหตุผลที่ใช้สร้างความชอบธรรมให้การใช้ความรุนแรงผ่านสายตาของนักสันติวิธี ในหนังสือ Can Political Violence Ever Be Justified?

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง

29 Nov 2023

Social Issues

6 Oct 2023

‘การกราดยิง’ สำรวจสาเหตุอันซับซ้อนของพฤติกรรมสังหารหมู่

เสกสิทธิ์ แย้มสงวนศักดิ์ ชวนมองสาเหตุอันซับซ้อนของเหตุการณ์กราดยิงผ่านงานศึกษาหลายชิ้นที่มุ่งศึกษาเรื่องความรุนแรง อาวุธปืน และสาเหตุทั้งในเชิงปัจเจกและเชิงสังคม

เสกสิทธิ์ แย้มสงวนศักดิ์

6 Oct 2023

Justice & Human Rights

12 Sep 2023

โจ ด่านช้าง, หน่อง ท่าผา, ชัยภูมิ ป่าแส ฯลฯ: ‘วิสามัญฆาตกรรม’ ที่กลายเป็นเรื่องสามัญ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนมองการวิสามัญฆาตกรรมในฐานะการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่รัฐที่ทำให้บุคคลถึงแก่ความตาย อันสมควรมีการตรวจสอบอย่างเข้มงวด

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Sep 2023

TIJ x 101

21 Jun 2023

“ถ้าทำผิด ก็เข้าคุกสิ?” เมื่อการลงโทษด้วยกฎหมายไม่ใช่ทางออกของปัญหา ‘เด็ก’ ก่อความรุนแรง

101 สรุปงานเสวนา ตีโจทย์ปัญหาความรุนแรงทั้งที่เด็กเป็นผู้กระทำและเป็นเหยื่อ พร้อมมองหาแนวทางป้องกันและแก้ปัญหา

เจียระไน ซองทอง

21 Jun 2023

Politics

14 Jun 2023

ทหารเกณฑ์ไม่ได้ตายในค่าย แต่ตายภายใต้กระบวนการยุติธรรม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนพิจารณาถึงการตายผิดปกติของทหารระดับล่างซึ่งไม่ถูกตรวจสอบให้กระจ่างและไม่นำไปสู่การลงโทษผู้ที่ต้องรับผิด

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Jun 2023

Latin America

5 Apr 2023

สงครามค้ายาเสพติด สู่ปัญหาความรุนแรงในเม็กซิโก

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เล่าถึงสงครามค้ายาเสพติดในเม็กซิโก ที่นำมาสู่ปัญหาความรุนแรงในประเทศตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

5 Apr 2023

Politics

17 Mar 2023

ไตรลักษณ์แห่งความตายของชัยภูมิ ป่าแส

ครบรอบ 6 ปีที่ชัยภูมิ ป่าแส นักกิจกรรมชาติพันธุ์ถูกเจ้าหน้าที่ทหารยิงเสียชีวิต จนถึงปัจจุบันยังไม่มีคำอธิบายถึงความเป็นจริงและความรับผิดของผู้เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

17 Mar 2023

Kid For Kids

22 Dec 2022

อุปสรรคของเยาวชนชายแดนใต้ ในกำแพงของความมั่นคง : ข้อมูลจากการสำรวจเยาวชน 2022

เด็กและเยาวชนในพื้นที่ชายแดนใต้ยังถูกคุกคามจากรัฐ และเผชิญปัญหาด้านรายได้ การศึกษา และสุขภาพ แต่เยาวชนกลุ่มนี้ยังคงมีหวังกับการเมืองในพื้นที่

กษิดิ์เดช คำพุช

22 Dec 2022

Politics

2 Dec 2022

“อาหารข้าวปลาคือเนื้อหาของประชาธิปไตย” บารมี ชัยรัตน์ วันที่ม็อบคนจนถูกตอบกลับด้วยเสียงปืน

101 พูดคุยกับบารมี ชัยรัตน์ ที่ปรึกษาสมัชชาคนจน ถึงความรุนแรงที่รัฐใช้ต่อการชุมนุมของประชาชน และโจทย์ใหญ่เรื่องการเมืองภาคประชาชนในการเลือกตั้งครั้งหน้า

ชลิดา หนูหล้า

2 Dec 2022

US

1 Dec 2022

อเมริกันขวา ‘ชังชาติ’ ไหม: การเมืองวัฒนธรรมในอเมริกาเปรียบเทียบ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบปัจจัยการใช้ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองระหว่างไทยและอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

1 Dec 2022

Politics

11 Oct 2022

‘วิสามัญมรณะ’: การตายในชีวิตประจำวันของสามัญชนด้วยน้ำมือรัฐ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนทำความรู้จัก ‘วิสามัญมรณะ’ อันหมายถึงการเสียชีวิตของบุคคล โดยที่เจ้าหน้าที่รัฐเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ในฐานะต่างๆ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

11 Oct 2022

Social Issues

26 Jun 2022

รับน้องที่ขัดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (Bizutage)

ชวนมองกฎหมายฝรั่งเศสที่ระบุความผิดฐานรับน้องที่ขัดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (bizutage) อันเป็นกฎหมายที่ไทยยังขาดหายไป

ปกป้อง ศรีสนิท

26 Jun 2022

World

6 Jun 2022

ความรุนแรงในสังคมลาตินอเมริกา: กรณีตัวอย่างโคลอมเบีย

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ชวนมองเรื่องความรุนแรงในสังคมโคลอมเบียที่เชื่อมโยงกับวิธีคิดทางเพศ เมื่อปัญหาความรุนแรงและขบวนการยาเสพติดล้วนตั้งอยู่บนแนวคิดชายเป็นใหญ่ การเคารพ และการมีอำนาจเหนือผู้หญิง

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

6 Jun 2022
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017