โจ ด่านช้าง, หน่อง ท่าผา, ชัยภูมิ ป่าแส ฯลฯ: ‘วิสามัญฆาตกรรม’ ที่กลายเป็นเรื่องสามัญ
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนมองการวิสามัญฆาตกรรมในฐานะการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่รัฐที่ทำให้บุคคลถึงแก่ความตาย อันสมควรมีการตรวจสอบอย่างเข้มงวด

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนมองการวิสามัญฆาตกรรมในฐานะการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่รัฐที่ทำให้บุคคลถึงแก่ความตาย อันสมควรมีการตรวจสอบอย่างเข้มงวด
101 สรุปงานเสวนา ตีโจทย์ปัญหาความรุนแรงทั้งที่เด็กเป็นผู้กระทำและเป็นเหยื่อ พร้อมมองหาแนวทางป้องกันและแก้ปัญหา
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนพิจารณาถึงการตายผิดปกติของทหารระดับล่างซึ่งไม่ถูกตรวจสอบให้กระจ่างและไม่นำไปสู่การลงโทษผู้ที่ต้องรับผิด
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เล่าถึงสงครามค้ายาเสพติดในเม็กซิโก ที่นำมาสู่ปัญหาความรุนแรงในประเทศตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา
ครบรอบ 6 ปีที่ชัยภูมิ ป่าแส นักกิจกรรมชาติพันธุ์ถูกเจ้าหน้าที่ทหารยิงเสียชีวิต จนถึงปัจจุบันยังไม่มีคำอธิบายถึงความเป็นจริงและความรับผิดของผู้เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน
เด็กและเยาวชนในพื้นที่ชายแดนใต้ยังถูกคุกคามจากรัฐ และเผชิญปัญหาด้านรายได้ การศึกษา และสุขภาพ แต่เยาวชนกลุ่มนี้ยังคงมีหวังกับการเมืองในพื้นที่
101 พูดคุยกับบารมี ชัยรัตน์ ที่ปรึกษาสมัชชาคนจน ถึงความรุนแรงที่รัฐใช้ต่อการชุมนุมของประชาชน และโจทย์ใหญ่เรื่องการเมืองภาคประชาชนในการเลือกตั้งครั้งหน้า
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบปัจจัยการใช้ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองระหว่างไทยและอเมริกา
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบการยึดอำนาจด้วยกำลังนอกระบบของไทยกับอเมริกาว่ามีลักษณะร่วมและจุดต่างกันอย่างไรบ้าง
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนทำความรู้จัก ‘วิสามัญมรณะ’ อันหมายถึงการเสียชีวิตของบุคคล โดยที่เจ้าหน้าที่รัฐเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ในฐานะต่างๆ
ชวนมองกฎหมายฝรั่งเศสที่ระบุความผิดฐานรับน้องที่ขัดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (bizutage) อันเป็นกฎหมายที่ไทยยังขาดหายไป
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ชวนมองเรื่องความรุนแรงในสังคมโคลอมเบียที่เชื่อมโยงกับวิธีคิดทางเพศ เมื่อปัญหาความรุนแรงและขบวนการยาเสพติดล้วนตั้งอยู่บนแนวคิดชายเป็นใหญ่ การเคารพ และการมีอำนาจเหนือผู้หญิง
จากเหตุกราดยิงในอเมริกา ธเนศ อาภรณ์สุวรรณวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมรุนแรงโดยมองผ่านพัฒนาการทางสังคมอเมริกานับแต่อดีต
เชาวฤทธิ์ เชาวแสงรัตน์ ชวนมองความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงกับความเป็นเมือง โดยถอดบทเรียนจากประเทศในภูมิภาคลาตินอเมริกา
ชลลดา โภคะอุดมทรัพย์ เขียนสกู๊ปประเด็นความรุนแรงในครอบครัว เมื่อความเข้าใจของรัฐต่อครอบครัวมีปัญหาและติดกับดักสังคมชายเป็นใหญ่
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า