ยุทธศาสตร์ป้องกันความเสี่ยงด้านความมั่นคง: จะไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดหรือฝักใฝ่ไปเสียทุกฝ่ายดี?
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงยุทธศาสตร์ป้องกันความเสี่ยงด้านความมั่นคงของไทย เมื่อมีรัฐบาลใหม่แล้วควรใช้ยุทธศาสตร์แบบใด

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงยุทธศาสตร์ป้องกันความเสี่ยงด้านความมั่นคงของไทย เมื่อมีรัฐบาลใหม่แล้วควรใช้ยุทธศาสตร์แบบใด
เด็กและเยาวชนในพื้นที่ชายแดนใต้ยังถูกคุกคามจากรัฐ และเผชิญปัญหาด้านรายได้ การศึกษา และสุขภาพ แต่เยาวชนกลุ่มนี้ยังคงมีหวังกับการเมืองในพื้นที่
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่านแนวคิด ‘ความมั่นคงเชิงภวสภาพ’ ที่มองว่าปัญหาความมั่นคงของรัฐเชื่อมโยงกับแผลในใจของสังคมที่รู้สึกว่าเกียรติภูมิของประเทศชาติบ้านเมืองของตนถูกกระทบกระทั่งโดยอำนาจภายนอกที่เหนือกว่าเข้ามาบังคับ
ขวัญข้าว คงเดชา ตั้งคำถามต่อท่าทีของไทยหลังจากทหารพม่ายิงเรือตำรวจตระเวนชายแดนที่กำลังปฏิบัติหน้าที่อยู่ในน่านน้ำฝั่งไทย
ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเรื่องการติดอาวุธจู่โจม (strike capability) ในญี่ปุ่น – อะไรคือข้อจำกัดที่ทำให้ญี่ปุ่นไม่อาจคิดที่จะมีสมรรถนะด้านนี้มาก่อน และปัจจัยใดที่ทำให้ญี่ปุ่นเริ่มมองเรื่องการติดอาวุธจู่โจมเป็นตัวเลือกเชิงยุทธศาสตร์ในเวลานี้
101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนคุณผู้ฟังสำรวจโลกความมั่นคงหลัง 9/11 ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวได้เปลี่ยนโฉมการมองและนิยามความมั่นคงไปอย่างไร อะไรคือตัวอย่างของภัยความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่โลกจะต้องเผชิญบ้าง
เมื่อการทรมานด้วยข้ออ้างด้านความมั่นคง ไม่ได้พุ่งเป้าไปที่ร่างกายเพียงอย่างเดียว แต่แปรรูปมากระทำที่จิตใจ ผลกระทบที่ค้างภายในจึงกลายเป็นบาดแผลทางใจเรื้อรัง
ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ ตั้งข้อสังเกตถึงผลกระทบด้านความมั่นคงและการเมืองระหว่างประเทศของวิกฤตการณ์ COVID-19 ที่กลายเป็นภัยคุกคามแบบใหม่
สรุปบทเรียน 30 ประการ จากมุมมองอาชญาวิทยา, ความมั่นคง, จิตวิทยาเด็กและครอบครัว เพื่อทำความเข้าใจและหาทางเยียวยา-รับมือกับโศกนาฏกรรม
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย ย้อนมองโลก 2019 เพื่อสำรวจก้าวต่อไปของ (ความไร้) ระเบียบโลกใหม่ บนสมรภูมิการแข่งขันของมหาอำนาจ
จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงกระบวนการสร้าง ‘ความมั่นคง’ ของรัฐ ผ่านการศึกษาความมั่นคงระหว่างประเทศ 3 สำนัก ที่ต้องดูคำนิยามว่าเป็นความมั่นคงของใคร และอะไรคือภัยคุกคามที่ต้องรับมือ
สนทนากับ ‘ชลิตา บัณฑุวงศ์’ นักวิชาการผู้คลุกคลีกับปัญหาสามจังหวัดภาคใต้ แต่ถูกฝ่ายความมั่นคงฟ้อง ม.116 หลังแสดงความเห็นทางวิชาการที่ปัตตานี
ฟัง ‘สุรพงษ์ กองจันทึก’ ประธานมูลนิธิผสานวัฒนธรรมเล่าปัญหาคนไร้สัญชาติที่เรื้อรังเนิ่นนานมาหลายทศวรรษ ท่ามกลางความมั่นคงที่เดินนำหน้าสิทธิมนุษยชน
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงแนวทาง ‘การจัดการความมั่นคงของรัฐ’ สองรูปแบบใหญ่ๆ คือการจัดการความมั่นคงในสภาวะปกติ กับการจัดการความมั่นคงในสภาวะยกเว้น
15 ปีที่ผ่านมาของวิกฤตสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ อะไรเป็นโจทย์สำคัญของวันนี้ เพื่อมองหาทางออกจากความเรื้อรังร่วมกัน ธิติ มีแต้ม เก็บความจากเสวนาของเหล่าพิราบที่ทำงานประเด็นดังกล่าว
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า