Media

1 Oct 2021

101 In Focus Ep.99 : Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2021

101 In Focus ชวนคุยถึงหนังสือ ‘Top Highlights’ ความน่าจะอ่าน 2021 ในสภาพสังคมอันหนักหนารายล้อมด้วยปัญหาเช่นนี้เราควรอ่านอะไรเพื่อช่วยต่อจิกซอว์ให้เข้าใจภาพใหญ่ของสังคมมากขึ้น หรืออ่านเพื่อทำให้เราเห็นแก่นของปัญหา หรือกระทั่งอ่านเพื่อปลอบประโลมหัวใจเราในวันที่เหนื่อยล้า

กองบรรณาธิการ

1 Oct 2021

Life & Culture

28 Sep 2021

เปิดความเห็นของนักอ่าน ใน ‘ความน่าจะอ่าน ขวัญใจมหาชน 2021’

รวมความเห็นจากนักอ่านที่ร่วมโหวต ‘ความน่าจะอ่านขวัญใจมหาชน 2021’ พร้อมประกาศผลหนังสือที่ได้รับการโหวตสูงสุดจากนักอ่าน

กองบรรณาธิการ

28 Sep 2021

Life & Culture

27 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] ทัศนะเล็กๆ น้อยๆ ต่อ ‘รัช ในแดนวิปลาส’

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึง ‘ในแดนวิปลาส’ ของรัช หนังสือที่ถูกเลือกมากที่สุดจากคนวงการหนังสือ ในความน่าจะอ่าน 2021

วรพจน์ พันธุ์พงศ์

27 Sep 2021

Life & Culture

25 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] หัวใจสำคัญของ Makoto Marketing: การตลาดแบบจริงใจสไตล์ญี่ปุ่น

ศิวะภาค เจียรวนาลี เขียนถึงหนังสือ Makoto Marketing ของเกตุวดี Marumura ว่าด้วยการตลาดแบบจริงใจสไตล์ญี่ปุ่น 1 ใน 11 Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2021

ศิวะภาค เจียรวนาลี

25 Sep 2021

Life & Culture

25 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] The World Without Us เมื่อโลกไม่มีเรา: ต้นธารแนวคิดการฟื้นชีวิตธรรมชาติ (Rewilding)

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงหนังสือ ‘เมื่อโลกไม่มีเรา’ 1 ใน 11 Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2021 โลกจะฟื้นฟูตัวเองอย่างไร ในวันที่ไม่มีมนุษย์อยู่

เพชร มโนปวิตร

25 Sep 2021

Life & Culture

24 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] เมื่อโลกซึมเศร้า: มันไม่ใช่ความผิดของคุณ

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล เขียนถึงหนังสือ ‘เมื่อโลกซึมเศร้า: Mark Fisher, โลกสัจนิยมแบบทุน และลัดดาแลนด์’ ผลงานของสรวิศ ชัยนาม 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ ว่าด้วยโลกสัจนิยมแบบทุน และชวนตั้งคำถามว่าอาการซึมเศร้ารวมหมู่ที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องของปัจเจกหรือเรื่องของทุนกันแน่

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล

24 Sep 2021

Life & Culture

23 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] ‘แด่ผู้แหลกสลาย’ เหตุผลของการดำรงอยู่อาจเป็นกาแฟยามเช้าสักแก้ว

วจนา วรรลยางกูร เขียนถึงหนังสือ แด่ผู้แหลกสลาย (Reasons to Stay Alive) 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ เรื่องเล่าการต่อสู้กับโรคซึมเศร้าของ แมตต์ เฮก นักเขียนวรรณกรรมชาวอังกฤษ

วจนา วรรลยางกูร

23 Sep 2021

Life & Culture

21 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] ปรากฏการณ์ “ตาสว่าง” กับ ‘ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี’

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึง ‘ขุนศึก ศักดินา พญาอินทรี’ ของ ณัฐพล ใจจริง 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ ที่ชวนคุณย้อนมองภาพประวัติศาสตร์การเมืองไทยใต้เงาอเมริกา พ.ศ.2491-2500

กษิดิศ อนันทนาธร

21 Sep 2021

Life & Culture

20 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] ความหวังใน ‘ไม่มีใครเป็นเจ้าของความหวังเพียงผู้เดียว’

จิรเดช โอภาสพันธ์วงศ์ เขียนถึง ‘ความหวัง’ ในหนังสือ ‘ไม่มีใครเป็นเจ้าของความหวังเพียงผู้เดียว’ โดย ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย 1 ใน 11 Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2021

จิรเดช โอภาสพันธ์วงศ์

20 Sep 2021

Life & Culture

19 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] เกิดขึ้น รักอยู่ รักไป: ‘โปรดโอบกอดมนุษย์ลูกด้วยหัวใจ’ และปล่อยมือให้ได้เมื่อถึงเวลา

ทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะ พาไปรู้จักความสัมพันธ์แม่-ลูก ในหนังสือ ‘โปรดโอบกอดมนุษย์ลูก’ ของวีรพร นิติประภา 1 ใน 11 Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2021 เราจะเคารพอีกฝ่ายในฐานะมนุษย์คนหนึ่งได้อย่างไร

ทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะ

19 Sep 2021

Life & Culture

18 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] บทเรียน ‘วิชารู้รอบ’ ในโลกที่ต้องการคนรอบรู้

1 ใน 11 Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2021 กานต์ธีรา ภูริวิกรัย พาท่องจักรวาล ‘วิชารู้รอบ’ ของเดวิด เอปสตีน หนังสือว่าด้วยความเป็นเป็ด เมื่อหลายครั้งการ ‘รู้กว้าง’ อาจดีกว่า ‘รู้ลึก’

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

18 Sep 2021

Life & Culture

17 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] Mountains as places of education, memory, bromance, and so on and so on…

1 ใน 11 Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2021 แมท ช่างสุพรรณ ชวนอ่านเรื่องราวมิตรภาพของลูกผู้ชายที่มีฉากหลังเป็นยอดเขาสูงชัน ในนวนิยาย ‘แปดขุนเขา’ (Le otto montage) โดยเปาโล คนเญตติ นักเขียนชาวอิตาลี

แมท ช่างสุพรรณ

17 Sep 2021
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save