อเมริกันขวา ‘ชังชาติ’ ไหม: การเมืองวัฒนธรรมในอเมริกาเปรียบเทียบ
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบปัจจัยการใช้ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองระหว่างไทยและอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบปัจจัยการใช้ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองระหว่างไทยและอเมริกา
ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์ อธิบายถึง ‘มายาการแห่งอัตลักษณ์’ ซึ่งทำให้คนหลงในอัตลักษณ์ตนเอง และแบ่งแยกคนอื่น จนนำไปสู่ความขัดแย้งร้าวลึกในสังคม
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงนโยบายชาตินิยมฮินดูของพรรครัฐบาลอินเดีย ที่ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งร้าวลึกระหว่างชาว ‘ฮินดู’ และ ‘มุสลิม’ ซึ่งประเด็นนี้มีรากทางประวัติศาสตร์มายาวนาน
คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา พาไปรู้จักประวัติศาสตร์ความขัดแย้งระดับชาติระหว่าง ‘บราซิล’ และ ‘อาร์เจนตินา’ สองมหาอำนาจลูกหนัง ที่มีเรื่องราวมากมายกว่าที่เห็นบนฟลอร์หญ้า
พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง doxxing (หรือ doxing) การจงใจรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวของคนหรือกลุ่มคน ซึ่งกลายมาเป็นอาวุธโจมตีผู้เห็นต่างในสนามความขัดแย้ง
101 คุยกับ เอกพันธุ์ ปิณฑวณิช ถึงทางออกจากความขัดแย้งในสังคมไทยและแนวทางสันติวิธีของผู้ประท้วง
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ชวนย้อนมองนโยบาย 66/2523 ที่มีส่วนคลี่คลายสงครามกลางเมืองกับพรรคคอมมิวนิสต์ฯ หลัง 6 ต.ค. 19
นำชัย ชีววิวรรธน์ เปิดงานวิจัย เพราะอะไรการเมืองจึงทำให้เราโง่ และเพราะเหตุใดการถกเถียงด้วยเหตุผลในเรื่องทางการเมืองจึงมักไม่สัมฤทธิ์ผล
101 พูดคุยกับ ดุจดาว วัฒนปกรณ์ ว่าเราจะทำความเข้าใจกันได้อย่างไร ท่ามกลางความเห็นต่างในทุกพื้นที่ของสังคมไทย
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงหลักพื้นฐาน 7 ประการของการทำโฆษณาชวนเชื่อที่พรรคนาซีใช้จนสามารถปลุกระดมมวลชนให้คล้อยตามผู้มีอำนาจได้
คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงความปกติสามัญของการดูถูกและการกีดกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสังคมมนุษย์ทุกยุคสมัยและทุกชนชั้น
วจนา วรรลยางกูร เรียบเรียงการพูดคุยจากวงเสวนา ‘สันติภาพจังหวัดชายแดนใต้ (จชต.): โอกาสการขยายตัวของความรุนแรงและบทบาทคนนอก’ อันสะท้อนภาพรวมกระบวนการพูดคุยสันติภาพที่ดำเนินอย่างเชื่องช้าจากแง่มุมต่างๆ
สนิทสุดา เอกชัย เขียนถึงการใช้เฮทสปีชของชาวไทยพุทธ อันขัดแย้งกับหลักคิดของศาสนาที่มุ่งเน้นการสร้างสันติ ไม่ใช่การด่าทอไล่ออกจากแผ่นดินจนถึงสนับสนุนให้ทำร้ายคนคิดต่างแบบที่เกิดขึ้น
อินเดียจัดการความแตกต่างหลากหลายอย่างไรกับ ประชาชน 1.2 พันล้านคน ภาษากว่า 1,000 ภาษา และศาสนาอีกมากมาย ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงการอยู่ร่วมกับความหลากหลายของแดนภารตะ หลังประเด็นนี้ถูกหยิบยกขึ้นมาในรัฐสภาไทย
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงเรื่องการเป็นพลเมืองในสังคมลาตินอเมริกา ที่ถึงแม้ว่ากำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านให้เข้ากับระบอบประชาธิปไตย แต่ก็ไม่มีใครหน้าไหนลุกขึ้นมาชี้หน้าไล่คนอื่นออกจากการเป็นพลเมืองของประเทศได้
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า