ตรวจชีพจรเศรษฐกิจจีน กับ อาร์ม ตั้งนิรันดร
101 ชวนสนทนากับ อาร์ม ตั้งนิรันดรถึงสถานการณ์เศรษฐกิจจีนในปัจจุบัน อนาคตของศึกชิงมหาอำนาจทางเศรษฐกิจระหว่างจีนกับอเมริกา และถอดบทเรียนที่ประเทศไทยควรคว้าโอกาสไว้ในห้วงเวลานี้

101 ชวนสนทนากับ อาร์ม ตั้งนิรันดรถึงสถานการณ์เศรษฐกิจจีนในปัจจุบัน อนาคตของศึกชิงมหาอำนาจทางเศรษฐกิจระหว่างจีนกับอเมริกา และถอดบทเรียนที่ประเทศไทยควรคว้าโอกาสไว้ในห้วงเวลานี้
101 In Focus Ep.183 ขอชวนทุกท่านกลับมามองลองทำความเข้าใจปรากฏการณ์ของคนรุ่นใหม่และการเคลื่อนไหวทางการเมืองของ ‘เด็กสมัยนี้’
คิด for คิดส์ ชวนทำความเข้าใจ ‘คุณค่า-ทัศนคติ’ ทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของ ‘เยาวชนไทย’ จากผลสำรวจเยาวชนสองหมื่นคนทั่วประเทศ หาคำตอบว่าพวกเขาคิดฝันอะไร เป็นใคร และมีพฤติกรรมอย่างไร
101 ชวนมองภาพชีวิตคนวัยทำงาน 3 คนที่เคยใช้ชีวิตคนเมืองแล้วกลับไปปะทะกับความแตกต่างในชุมชนบ้านเกิดตัวเอง
กนกรัตน์ เลิศชูสกุล ชวนมองพัฒนาการความสัมพันธ์และอิทธิพลที่มีต่อกันระหว่างขบวนการเคลื่อนไหวคนรุ่นใหม่และพรรคก้าวไกล จนนำมาสู่ชัยชนะในการเลือกตั้ง 2566
101 ชวนข้าราชการไทยรุ่นใหม่จาก 4 สังกัด : ยุติธรรม, เศรษฐกิจ, สาธารณสุข และการศึกษา มาบอกเล่าถึงสิ่งที่ต้องพบเจอในฐานะคนทำงานรุ่นใหม่ในระบบข้าราชการอันเก่าแก่ พร้อมมองภาพอนาคตของตัวเองในการเลือกตั้งใหญ่ และความเป็นไปที่เกิดขึ้นในระบอบประยุทธ์กว่า 8 ปีที่ผ่านมา
คอลัมน์ Popcapture ประจำเดือนนี้ ว่าด้วยวัฒนธรรมการทำงานของเหล่าแรงงานรุ่นใหม่ ในตลาดแรงงานซึ่งพลิกเปลี่ยนความต้องการอยู่ตลอดเวลา
101 คุยกับ วิจักขณ์ พานิช ผู้อำนวยการสถาบันวัชรสิทธถึงมุมมองที่เขามีต่อศรัทธา การทำงานกับศรัทธาท่ามกลางสถานการณ์ที่บีบบังคับให้มนุษย์หมดศรัทธา รวมถึงคำถามที่หลายคนสงสัยว่าความศรัทธานั้นมีความหมายอย่างไรในการต่อสู้ทางการเมือง
วจนา วรรลยางกูร เขียนถึงซีรีส์การ์ตูน Aggretsuko จากค่ายซานริโอ ซีรีส์สะท้อนชีวิตมนุษย์เงินเดือนผู้หญิงในญี่ปุ่นที่เจอความกดดันรอบด้าน
ปรากฏการณ์หนังสือแนว ‘ให้กำลังใจ’ ขายดีสะท้อนอะไร เนื้อหาในหนังสือเหล่านี้บอกอะไร โลกแบบไหนที่พาเรามาถึงจุดนี้ และคนที่เติบโตมาในยุคแห่งความเปราะบางกำลังเดินไปทางไหน
คิด for คิดส์ ชวนสำรวจปัญหาการขาดช่องทางการมีส่วนร่วมอย่าง ‘มีความหมาย’ ของเยาวชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ และเสนอแนวทางขยายช่องทางดังกล่าว เพื่อให้นโยบายตอบสนองปัญหาและความต้องการของเยาวชนได้ดีขึ้น
สนทนากับ ตะวัน-ทานตะวัน ตัวตุลานนท์ นักเคลื่อนไหวและนักกิจกรรมทางการเมือง กับเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ในสายตาของคนรุ่นใหม่ และเพดานมาตรา 112 ที่ต้องดันไปให้ทะลุ
101 สำรวจความคิด-ความทรงจำของเยาวชนคนรุ่นใหม่ในปัจจุบันต่อเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ เมื่อ 46 ปีที่แล้ว ในวันที่นักเรียนนักศึกษาเคลื่อนไหวทางการเมืองอีกครั้ง
ปัจจุบันกลุ่มคนมิลเลเนียลส์หรือคนที่เกิดช่วงปลายยุค 1980 ไล่เรื่อยมาจนถึงปลายยุค 1990 กำลังอยู่ในวัยทำงานสร้างเนื้อสร้างตัว และที่ผ่านมาก็มักจะถูกมองว่าแม้มีความสามารถหลากหลายและเรียนรู้ทักษะต่างๆ ได้มากมายรวดเร็ว แต่มิลเลเนียลส์ก็เป็นกลุ่มคนที่ไม่อดทน เปลี่ยนงานบ่อย
แต่เอาเข้าจริง พวกเขาเปลี่ยนงานบ่อยจริงไหม คนมิลเลเนียลส์ไม่ได้เรื่องจริงหรือเปล่า
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนมองปรากฏการณ์การเปลี่ยนงานบ่อยในกลุ่มคนรุ่นใหม่ พร้อมวิเคราะห์นัยที่มีต่อสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า