fbpx

Life & Culture

15 Nov 2023

การเมืองเรื่องคําว่า ‘ยวน’ ในตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ อภิปรายสาเหตุที่ไม่พบคําว่ายวนใน ‘ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่’ โดยอาศัยบริบททางประวัติศาสตร์และลักษณะการใช้คําในวรรณกรรมและจารึกชิ้นอื่นๆ ประกอบการตีความ

พริษฐ์ ชิวารักษ์

15 Nov 2023

Life & Culture

18 Oct 2023

ฝรั่งมังค่า ทุ่งกุลาร้องไห้ และกุ้งกุลาดำ: มังค่าและกุลาคืออะไร?

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงที่มาของคำว่า ฝรั่งมังค่า ทุ่งกุลาร้องไห้ และกุ้งกุลาดำ

พริษฐ์ ชิวารักษ์

18 Oct 2023

Life & Culture

7 Sep 2023

ลานนา ล้านนา: การเมืองเรื่องไม้โทกับอาณานิคมความรู้ในล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงวิวาทะว่าด้วยอักขรวิธีระหว่าง ‘ล้านนา’ กับ ‘ลานนา’ ที่ใช้เรียกพื้นที่ซึ่งปัจจุบันคือภาคเหนือตอนบนของไทย ต้นรากของการเลือกใช้คำมาจากไหน และความคิดแบบไหนที่อยู่เบื้องหลังการตัดสินใจเหล่านี้

พริษฐ์ ชิวารักษ์

7 Sep 2023

Life & Culture

13 Aug 2023

ล้านนาปฏิวัติ: การต่อสู้ของตนบุญในประวัติศาสตร์ล้านนา (ตอนสอง)

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ พาล่องไปในเรื่องเล่า ‘ตนบุญ’ แห่งเมืองนครลำปาง ในยุค ‘หาเจ้าบ่ได้’

พริษฐ์ ชิวารักษ์

13 Aug 2023

Life & Culture

17 Jul 2023

ล้านนาปฏิวัติ: การต่อสู้ของ ‘ตนบุญ’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา (ตอนแรก)

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ ตอนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึง การต่อสู้ของ ‘ตนบุญ’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

17 Jul 2023

Media

7 Jun 2023

101 One-on-One Ep.299 ปาฐกถาต้องห้าม ‘เขียนสังคมใหม่ เขียนประวัติศาสตร์ประชาชน’ กับ พริษฐ์ ชิวารักษ์

101 ชวน พริษฐ์ ชิวารักษ์ มากล่าวปาฐกถาที่เขาไม่ถูกอนุญาตให้พูด และคุยถึงประวัติศาสตร์ล้านนา ประวัติศาสตร์ของประชาชน รวมถึงบทบาทนักประวัติศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลงสังคม

101 One-on-One

7 Jun 2023

Life & Culture

21 May 2023

‘ว่างแผ่นดิน’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ ชวนสนทนากับหนังสือ ‘ว่างแผ่นดิน’ โดยนิธิ เอียวศรีวงศ์ ว่าด้วยประวัติศาสตร์ช่วง ‘ว่างแผ่นดิน’ ของอยุธยา อังวะ และด่ายเหวียด และชวนมองไปถึงล้านนาที่ไม่ถูกเขียนถึงในหนังสือเล่มนี้

พริษฐ์ ชิวารักษ์

21 May 2023

Life & Culture

16 Mar 2023

คนล้านนาเป็นไท/ไทย แต่กลายเป็นลาวเพราะการยัดเยียด

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ชวนทำความเข้าใจการเรียกตัวเองของชาวล้านนา ที่ไม่เคยเรียกว่าตัวเองว่า ‘ลาว’ ดังที่ชาวสยามเรียก โดยศึกษาผ่านเอกสารและหนังสือในประวัติศาสตร์

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Mar 2023

Life & Culture

12 Feb 2023

‘ตำนาน’ ไม่ใช่ ‘ตำนาน’ ในประวัติศาสตร์นิพนธ์ล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึง ‘ตำนาน’ ของล้านนาที่ไม่ได้หมายถึงเรื่องเล่าพื้นบ้าน แต่มีลักษณะใกล้เคียงกับพงศาวดาร ซึ่งมีวิธีเรียบเรียงประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ

พริษฐ์ ชิวารักษ์

12 Feb 2023

Life & Culture

12 Jan 2023

รัฐไทย/สยามกับชื่อบ้านนามเมืองล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงการ ‘ตั้งชื่อบ้านนามเมือง’ ของล้านนาโดยรัฐไทย/สยาม ที่สะท้อนวิธีสร้างประวัติศาสตร์แบบใหม่และการแผ่อำนาจจากส่วนกลาง โดยไม่สอดคล้องกับรากของพื้นที่

พริษฐ์ ชิวารักษ์

12 Jan 2023

Life & Culture

25 Dec 2022

จริงหรือไม่ที่อาหารเหนือไม่ ‘แมส’: อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของกระแสวัฒนธรรมล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ ส่งท้ายปี 2022 ว่าด้วยเรื่องความแมสของอาหารเหนือ ที่พาเราไปตั้งคำถามที่ใหญ่กว่านั้นว่า ความเป็นล้านนาคืออะไร?

พริษฐ์ ชิวารักษ์

25 Dec 2022

Life & Culture

24 Nov 2022

เปลก็ไกว ดาบก็แกว่ง: ผู้หญิงล้านนากับการสงคราม

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงนักรบหญิงชาวล้านนา ที่มีวีรกรรมจดจารเอาไว้ในประวัติศาสตร์ เพื่อสะท้อนว่าหญิงล้านนามีบทบาทมากกว่าการเป็นแม่บ้านแม่เรือน

พริษฐ์ ชิวารักษ์

24 Nov 2022

Life & Culture

8 Nov 2022

ตำนานล้านนากับบ้านเมืองก่อนมีราชอาณาจักร

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงตำนานสิงหนติ ที่เล่าความเป็นมาของเมืองโยนกเชียงแสน แว่นแคว้นโบราณของชาวล้านนาที่เคยตั้งขึ้นและล่มสลายไปก่อนหน้าที่จะมีการสถาปนาอาณาจักรล้านนาอย่างเป็นทางการ

พริษฐ์ ชิวารักษ์

8 Nov 2022

Life & Culture

11 Sep 2022

ปัญญาของคนล้านนา – ความรู้ของสามัญชน

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เปิดคอลัมน์ใหม่ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ ว่าด้วยประวัติศาสตร์ล้านนา ประเดิมตอนแรกว่าด้วยรากทางวัฒนธรรมที่ทำให้ล้านนาเป็นเมืองแห่ง ‘เรื่องเล่า’

พริษฐ์ ชิวารักษ์

11 Sep 2022

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save