ระบบวรรณะในอเมริกามาได้อย่างไร?
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองปัญหาของสังคมอเมริกันปัจจุบันจากมุมมองประวัติศาสตร์ ท่ามกลางความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างสีผิวเชื้อชาติโดยเฉพาะผิวขาวกับผิวดำ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองปัญหาของสังคมอเมริกันปัจจุบันจากมุมมองประวัติศาสตร์ ท่ามกลางความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างสีผิวเชื้อชาติโดยเฉพาะผิวขาวกับผิวดำ
หลังทีมชาติอังกฤษพ่ายแพ้ในรอบชิงฟุตบอลยูโร นำไปสู่คลื่นการเหยียดเชื้อชาติ-สีผิวของแฟนบอลผู้ผิดหวังกับนักเตะผิวดำสามคนที่ยิงลูกโทษพลาด ปรากฏการณ์นี้นำไปสู่คำถามต่อการนิยาม ‘Englishness’
คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงการเหยียดเชื้อชาติในแวดวงฟุตบอลที่กลับมาเป็นประเด็นร้อนอีกครั้ง เมื่อ การีม เบนเซมา นักเตะจากครอบครัวผู้อพยพชาวอัลจีเรียกลับมาเล่นให้ทีมชาติฝรั่งเศสในรอบ 6 ปี ท่ามกลางการตื่นตัวต่อความหลากหลายที่โหมกระหน่ำอยู่ในสากลโลก
In relationships with IR ตอนใหม่ ชวนเปิดมุมมืดของช็อกโกแล็ต ชา กาแฟ และน้ำตาล ที่สืบสาวกลับไปยังยุคอาณานิคมและยังส่งต่อมาสู่โลกปัจจุบันในรูปแบบของความเหลื่อมล้ำระหว่างโลกที่พัฒนาแล้วและโลกที่เขาว่ากันว่ากำลังพัฒนา
ท่ามกลางกระแสสูงของการเหยียดเชื้อชาติเอเชียในสหรัฐฯ 101 ถอดรหัส ‘อาชญากรรมจากความเกลียดชัง’ ต่อคนเอเชียว่า อะไรคือสิ่งที่ซ่อนอยู่ใต้ปลายยอดภูเขาน้ำแข็ง อะไรที่ปิดตาสังคมอเมริกันว่า อาชญากรรมจากความเกลียดชังและการเหยียดคนเอเชียนั้นไม่มีอยู่จริงในสหรัฐฯ
ในวันที่กระแสความเกลียดชังเอเชียโหมกระหน่ำในสหรัฐฯ ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ เขียนถึง ความเจ็บปวดไร้เสียงของคนอเมริกันเชื้อสายเอเชียและประวัติศาสตร์การเหยียดเชื้อชาติเอเชียกว่า 200 ปีที่มัก ‘ถูกลืม’
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงคนจีนโพ้นทะเลในอินเดียที่ต้องเผชิญต่อกระแสเหยียดเชื้อชาติตั้งแต่สมัยสงครามเย็น จนกระทั่งปัจจุบันเมื่อความขัดแย้งอินเดีย-จีนระลอกใหม่ปะทุขึ้นมา
พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงเหตุการณ์การเหยียดผิวในแวดวงฟุตบอล ซึ่งเกิดขึ้นและกลายเป็นข่าวใหญ่ถึงสามครั้งในรอบเดือนที่ผ่านมา พร้อมเปรียบเทียบมาตรการในการรับมือสถานการณ์ทำนองเดียวกันในกีฬาอื่นๆ
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล คุยกับ ‘Trishes’ ศิลปินเชื้อสายตรินิแดด ที่เกิดและโตในอเมริกา ในวาระที่เธอมาเล่นคอนเสิร์ตที่กรุงเทพฯ นอกจากตัวตนที่ผลงานที่น่าสนใจ มุมมองของเธอในฐานะ ‘คนนอก’ ที่ใช้ชีวิตอยู่ในอเมริกาก็น่ารับฟังไม่น้อยไปกว่ากัน
ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ เขียนถึงชีวิตของหญิงไทยที่ไปสร้างครอบครัวอยู่ในสหราชอาณาจักร แม้จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากสังคมที่มีความเท่าเทียมสูงกว่า ทว่าอีกด้านหนึ่ง พวกเธอกลับต้องพบเจอกับภาวะ ‘การเหยียดตัวเอง’ จากมายาคติเดิมๆ
เขาเหยียดผิวด้วยวิธีการแบบไหนในกีฬาฟุตบอล?
ใครเป็นคนเริ่มเมื่อยคนแรก (เหยียดดคนแรก ตึ่งโป๊ะ)?
ที่ไทยกับต่างประเทศ เหยียดเหมือนกันไหม?
การเหยียดเชื้อชาติในสนาม เกี่ยวอะไรกับเรื่องนอกสนาม?
อย่าเพิ่งเหยียดใคร ถ้าคุณยังไม่ได้ดูคลิปนี้จนจบ
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า