fbpx

Political Economy

25 Dec 2017

What is Populism? อะไรคือ “ประชานิยม” ในสากลโลก?

ใครเบื่อข้อถกเถียงว่าด้วย “ประชานิยม” แบบไทยๆ สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน What is Populism? ของ Jan-Werner Müller นักรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน หนังสือเล่มเล็กที่ตั้งคำถามว่าประชานิยมคืออะไร ประชานิยมฝ่ายขวาและประชานิยมฝ่ายซ้ายต่างกันอย่างไร วิถีการเมืองของนักการเมืองประชานิยมมีรูปแบบอย่างไร และประชานิยมสร้างสรรค์หรือทำลายประชาธิปไตยกันแน่

สฤณี อาชวานันทกุล

25 Dec 2017

Thai Politics

11 Sep 2017

จากงบทหารถึงยุทธศาสตร์ชาติ: การแปลง ‘อำนาจ’ ให้เป็น ‘สถาบัน’

อิสร์กุล อุณหเกตุ ตั้งคำถามงบทหารกับการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติสัมพันธ์กันอย่างไร เศรษฐศาสตร์สถาบันช่วยอธิบายเบื้องหลังการผลักดันยุทธศาสตร์ชาติของรัฐบาลทหารอย่างไร

อิสร์กุล อุณหเกตุ

11 Sep 2017

People

26 Jun 2017

สุดา พนมยงค์ : ความทรงจำเกี่ยวกับการอภิวัฒน์สยาม 2475

สุดา พนมยงค์ ประธานมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ บุตรคนที่ 3 ของปรีดี พนมยงค์ คุยเรื่อง “คุณพ่อ”, ชีวิตครอบครัว และการอภิวัฒน์ 2475 กับ กษิดิศ อนันทนาธร

กษิดิศ อนันทนาธร

26 Jun 2017

Thai Politics

21 Jun 2017

กุหลาบ สายประดิษฐ์ ยังมีชีวิตอยู่?

เวียง-วชิระ บัวสนธ์ เขียนถึง กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา ‘สุภาพบุรุษ’ นักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ซึ่งยึดมั่นหลักประชาธิปไตยเป็นโคมไฟส่องทางสังคม

เวียง วชิระ บัวสนธ์

21 Jun 2017

Thai Politics

20 Jun 2017

ทหารบนเก้าอี้บอร์ดรัฐวิสาหกิจ

“ช่วงที่ผ่านมา มีปัญหาภายในบอร์ดรัฐวิสาหกิจ ก็ได้มีการจัดให้ทหารเข้าไปนั่งสังเกตการณ์ ไม่ใช่ไปนั่งยกมือแสดงความคิดเห็น” พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กล่าวชี้แจงเมื่อมีรายงานข่าวว่าหลังรัฐประหาร 2557 จำนวนทหารที่เข้าไปนั่งในบอร์ดรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นเท่าตัว โดยเป็นประธานบอร์ดเพิ่มขึ้นจาก 3 แห่ง เป็น 16 แห่ง

การสังเกตการณ์ของทหารมีราคาที่ต้องจ่าย “อิสร์กุล อุณหเกตุ” รายงานว่า ค่าตอบแทน เบี้ยประชุม และโบนัส ที่รัฐวิสาหกิจต้องจ่ายให้บอร์ดรัฐวิสาหกิจที่มีสินทรัพย์รวมสูงสุด 8 จาก 10 แห่ง ซึ่งมีบอร์ดเป็นทหาร โดยเฉลี่ยสูงถึง 1.5 ล้านบาทต่อตำแหน่งต่อปี

และนั่นเป็นเพียงแค่ปัญหาบนยอดภูเขาน้ำแข็งเพียงประการเดียวเท่านั้น อะไรเป็นปัญหาสำคัญทั้งบนยอดและข้างใต้ภูเขาน้ำแข็ง ติดตามอ่านต่อในรายงานพิเศษของ “อิสร์กุล อุณหเกตุ”

อิสร์กุล อุณหเกตุ

20 Jun 2017

Economic Focus

13 Jun 2017

วิเคราะห์ระดับความขัดแย้งทางการเมืองไทยด้วย Big Data

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดพรมแดนความรู้ใหม่ทางเศรษฐศาสตร์และการเมือง ใช้ Big Data จาก The GDELT Project นำข้อมูลรายงานข่าวตั้งแต่ปี 2522-2560 มาวัดระดับความขัดแย้งทางการเมืองในประเทศไทย และผลกระทบของความไม่แน่นอนทางการเมืองต่อเศรษฐกิจไทย

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม

13 Jun 2017

Health

11 Jun 2017

การเมืองเรื่องหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : แก้กฎหมายทุบหัวใจ 30 บาท ทำลายมาตรฐานและความเท่าเทียม

ท่ามกลางกระแสร้อนเรื่องการแก้ไขกฎหมายหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ใบตองแห้ง” – อธึกกิต แสวงสุข เล่าชัดๆ ถึงที่มาที่ไปเกี่ยวกับข้อถกเถียงเรื่องระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และเปิดเบื้องลึกเบื้องหลังของการเมืองเรื่อง “30 บาทรักษาทุกโรค” อันซับซ้อนซ่อนเงื่อน

อธึกกิต แสวงสุข

11 Jun 2017

Lifestyle

16 May 2017

ในวันที่รวันดาพัฒนาแล้ว!

พูดถึงรวันดา หลายคนยังติดภาพในหนังเรื่อง Hotel Rwanda กันอยู่ ทำให้ผุดภาพการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ความทารุณโหดร้าย ฆ่าข่มขืน ปล้นชิง สงครามชนเผ่าระหว่างฮูตูและทุตซี่ ทหารเด็ก และสภาพบ้านป่าเมืองเถื่อนไร้ขื่อแปกฎหมายขึ้นมา

ธีรภัทร เจริญสุข จะพาไปสำรวจรวันดายุคใหม่ ว่าหลังผ่านเหตุการณ์ร้ายกาจของประเทศชนิดแตกเป็นเสี่ยงแล้ว ตอนนี้รวันดาพัฒนาไปถึงไหนแล้ว!

ธีรภัทร เจริญสุข

16 May 2017

Thai Politics

9 May 2017

ศิลปะร่วมสมัย การเมืองไทย และหมุดเจ้าปัญหา กับ ธนาวิ โชติประดิษฐ

101 ชวน ธนาวิ โชติประดิษฐ มานั่งคุยเรื่องศิลปะร่วมสมัยกับการเมืองไทย พร้อมวิเคราะห์-วิพากษ์เรื่องหมุดเจ้าปัญหา

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

9 May 2017

Law

16 Mar 2017

20 ปี รัฐธรรมนูญ 2540 : การปฏิรูปการเมืองไทยในอุ้งมือนักกฎหมายมหาชน

รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 หรือ “ฉบับประชาชน” กำลังจะมีอายุครบ 20 ปี สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทบทวนเส้นทางการเมืองไทยในอุ้งมือนักกฎหมายมหาชน จาก พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2560 จากการปฏิรูปการเมืองแบบเสรีประชาธิปไตย สู่การปฏิรูปการเมืองแบบปฏิปักษ์ประชาธิปไตย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

16 Mar 2017
1 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save