fbpx

World

29 Jun 2018

ผิดที่ไว้ใจ? รัสเซียกับสหภาพยุโรปในภูมิรัฐศาสตร์แห่งความหวาดระแวง

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปกับรัสเซียเพื่อหาคำตอบว่า เหตุใดมหาอำนาจทั้งสองนี้จึงไม่อาจไว้วางใจต่อกันได้ในภูมิศาสตร์การเมืองโลกในปัจจุบัน

จิตติภัทร พูนขำ

29 Jun 2018

Global Affairs

15 Jun 2018

อ่านแนวทางการศึกษา IR จากความทรงจำ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ถอดรหัสการศึกษา IR ของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ – อะไรคือหัวใจของการศึกษา IR ตามแนวทางประเพณีที่หยั่งรากลึกในเมืองไทยมากว่า 70 ปี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Jun 2018

Global Affairs

2 Jun 2018

รัสเซีย : มหาอำนาจเอเชียแปซิฟิก?

อัตลักษณ์แห่งชาติ ยุทธศาสตร์แห่งชาติ ผลประโยชน์แห่งชาติ จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ทำไมรัสเซียไม่สามารถปักหมุดในเอเชียได้

จิตติภัทร พูนขำ

2 Jun 2018

Spotlights

4 May 2018

Dust Atlas (4) : ฝุ่น PM 2.5 และสิทธิมนุษยชน

ปริมาณฝุ่น PM 2.5 สัมพันธ์กับระดับความเข้มแข็งของสิทธิมนุษยชนมากกว่าที่คิด การต่อรองให้ได้เมืองที่ดีและอากาศสะอาดหายใจ ไม่ใช่สิ่งที่ได้มาง่ายดายแต่ต้องผ่านการต่อรองบนฐานอำนาจที่เท่าเทียม

ชลธร วงศ์รัศมี

4 May 2018

World

27 Apr 2018

คงมีแต่ทรัมป์ที่ไปเกาหลีเหนือได้? : ความไว้เนื้อเชื่อใจในการเมืองโลก

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ นัยของการพบกันระหว่างทรัมป์และคิม จอง อึน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้นำทั้งสองจะนำไปสู่ความไว้เนื้อเชื่อใจระดับประเทศได้อย่างไร

จิตติภัทร พูนขำ

27 Apr 2018

Global Affairs

2 Feb 2018

ย้อนมอง “วิกฤตนิวเคลียร์เกาหลี” ผ่านบทเรียนประวัติศาสตร์ “วิกฤตขีปนาวุธคิวบา”

จิตติภัทร พูนขำ มองสถานการณ์วิกฤตขีปนาวุธในคาบสมุทรเกาหลีผ่านบทเรียนทางประวัติศาสตร์จากวิกฤตขีปนาวุธคิวบา ทางเลือกและทางออกของวิกฤตนิวเคลียร์ระหว่างสหรัฐอเมริกา เกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้อยู่ตรงไหน?

จิตติภัทร พูนขำ

2 Feb 2018

Global Affairs

29 Dec 2017

การเมืองระหว่างประเทศยามผลัดปี : การสิ้นสุดของอะไร?

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจการเมืองระหว่างประเทศตลอดปี 2017 ที่ผ่านมา และมองไปข้างหน้าว่าเราจะได้เห็นอะไรในปี 2018

จิตติภัทร พูนขำ

29 Dec 2017

Global Affairs

15 Dec 2017

อ่านสถานการณ์ยาก

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนฝึก “อ่านสถานการณ์ยาก” หลากหลายรูปแบบ จากยากเพราะไม่รู้ ยากเพราะลำบากใจ ยากเพราะไม่ยอมรับความจริง ไปจนถึง ยากเพราะความซับซ้อนในสถานการณ์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Dec 2017

Lifestyle

16 May 2017

ในวันที่รวันดาพัฒนาแล้ว!

พูดถึงรวันดา หลายคนยังติดภาพในหนังเรื่อง Hotel Rwanda กันอยู่ ทำให้ผุดภาพการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ความทารุณโหดร้าย ฆ่าข่มขืน ปล้นชิง สงครามชนเผ่าระหว่างฮูตูและทุตซี่ ทหารเด็ก และสภาพบ้านป่าเมืองเถื่อนไร้ขื่อแปกฎหมายขึ้นมา

ธีรภัทร เจริญสุข จะพาไปสำรวจรวันดายุคใหม่ ว่าหลังผ่านเหตุการณ์ร้ายกาจของประเทศชนิดแตกเป็นเสี่ยงแล้ว ตอนนี้รวันดาพัฒนาไปถึงไหนแล้ว!

ธีรภัทร เจริญสุข

16 May 2017

Global Affairs

15 May 2017

ถ้าสองเกาหลีรวมร่าง!

เคยสงสัยกันไหมครับ ว่าถ้าเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้จะกลับมารวมกันเป็นหนึ่งอีกครั้งนี่ จะเป็นไปได้ไหม และถ้าจะรวมกันจริงๆแล้ว มีกระบวนการอย่างไร หรือมีปัญหาอะไรบ้าง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

15 May 2017

Global Affairs

28 Apr 2017

ความสัมพันธ์สหรัฐฯ และรัสเซีย: ข้าม(ไม่)พ้น ความตึงเครียดร้าวลึก?

“รัสเซีย” เป็นหนึ่งในประเด็นด้านการเมืองและนโยบายต่างประเทศที่ร้อนแรงที่สุดในยุคโดนัลด์ ทรัมป์

ตั้งแต่การแฮกอีเมลพรรคเดโมแครต ข้อครหาเรื่องการแทรกแซงการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ จนทำให้ทรัมป์ได้รับชัยชนะ วาทศิลป์ช่วงหาเสียงของทรัมป์ที่ดูเหมือนจะ “นิยมปูติน” เกินงาม จนถึงการโจมตีทางอากาศของสหรัฐฯ ต่อซีเรีย พันธมิตรสำคัญของรัสเซีย

อนาคตความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย จะเดินต่อไปบนเส้นทางใด ผู้นำอย่างทรัมป์และปูตินจะจับมือก้าวข้ามความตึงเครียดร้าวลึกที่คุกรุ่นตั้งแต่หลังสงครามเย็นได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ เล่าเบื้องลึกเบื้องหลังและที่มาที่ไปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ใครอยากเข้าใจปมความขัดแย้งระหว่างสองประเทศ พลาดไม่ได้!

จิตติภัทร พูนขำ

28 Apr 2017

Global Affairs

24 Mar 2017

Operation Chromite : เมื่อเกาหลีใต้เกือบสูญพันธุ์

วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าประวัติศาสตร์เมื่อครั้งเกาหลีใต้เกือบสูญพันธุ์

Operation Chromite ปฏิบัติการทางการทหารที่เมืองอินชอน บัญชาการทัพโดยนายพลดักลาส แมกอาร์เธอร์ มีความสำคัญต่อชะตาชีวิตของประเทศเกาหลีใต้อย่างไร มาร่วมเรียนรู้อดีตไปด้วยกัน

วรากรณ์ สามโกเศศ

24 Mar 2017

Global Affairs

17 Mar 2017

โลกเอียงขวา ประชานิยม และอนาคตประชาธิปไตย

จาก Brexit สู่ทรัมป์ ถึงเลอ เพน … กระแส “ขวาประชานิยม” กำลังครองโลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชวนตั้งคำถามถึงการเมืองเรื่องซ้าย-ขวา และประชานิยม ค้นหาคำอธิบายสาเหตุของ “โลกหันขวา” ทั้งในมิติวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ และสำรวจสารพัดคำถามใหม่ที่ท้าทายโลกยุคเอียงขวา

โลกจะเดินต่ออย่างไรบนทางแพร่งแห่งอนาคตของเสรีนิยมประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

17 Mar 2017

US

6 Mar 2017

ทรัมป์ 101: ที่มาและที่ไปของสหรัฐอเมริกายุคประธานาธิบดีทรัมป์

โดนัลด์ ทรัมป์ ทำงานในตำแหน่งประธานาธิบดียังไม่ทันครบสองเดือน สหรัฐอเมริกาก็เปลี่ยนไปจนแทบจำไม่ได้ ทั้งโลกหายใจไม่คล่องคอ รอดูว่าทรัมป์จะปล่อยหมัดเด็ดที่คาดไม่ถึงอะไรออกมาอีก The101.world ชวนย้อนอ่านบทสัมภาษณ์เรื่อง ‘ทรัมป์ 101’ ระหว่าง ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ กับ ปกป้อง จันวิทย์ เพื่อหาคำตอบว่าเราต้องเตรียมรับมือกับโลกใหม่แบบไหนในยุค 2017 ทรัมป์ครองเมือง

ปกป้อง จันวิทย์

6 Mar 2017
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save