fbpx

US

5 Feb 2021

ปรากฏการณ์โดนัลด์ ทรัมป์กับการล้มการเลือกตั้งในพม่า

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบความแตกต่างของสหรัฐอเมริกาและเมียนมา และชวนมองถึงปัจจัยความสำเร็จในการทำรัฐประหารซึ่งความแตกต่างอยู่ที่องค์ประกอบและที่มาทางชนชั้นของกลุ่มผู้นำรัฐ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Feb 2021

Visual & Infographics

3 Feb 2021

#StandWithMyanmar

รวมภาพเหตุการณ์ชาวเมียนมามาชุมนุมกันบริเวณหน้าสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาประจำประเทศไทย เพื่อคัดค้านการรัฐประหารของกองทัพเมียนมา และเรียกร้องให้ปล่อยตัวออง ซาน ซูจี และเจ้าหน้าที่ที่ถูกควบคุมตัวเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564

เมธิชัย เตียวนะ

3 Feb 2021

Democracy

3 Feb 2021

Burma Chronicles

ในวันที่พม่าเกิดการรัฐประหาร นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ชวนย้อนอ่านข้อเขียนถึงหนังสือ Burma Chronicles การ์ตูนสะท้อนสภาพสังคมพม่าในยุคเผด็จการทหารครองอำนาจจากสายตาคนต่างชาติ

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

3 Feb 2021

World

18 Apr 2018

ความฝันของชาติ และการสร้างรัฐสวัสดิการของพม่า ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

ลลิตา หาญวงษ์ เขียนถึงกระบวนการสร้างชาติพม่า ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตั้งแต่แง่มุมทางเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ไปจนถึงกับดักที่ทำให้ประเทศไม่อาจพัฒนาได้ตามแผน

ลลิตา หาญวงษ์

18 Apr 2018

Interviews

30 Mar 2018

‘จ๋ามตอง’ มอง ‘ซู จี’ : เกมการเมืองพม่าและรัฐฉานภายใต้รัฐบาลพรรค NLD

วันดี สันติวุฒิเมธี คุยกับ ‘จ๋ามตอง’ สตรีไทใหญ่ผู้ทำงานด้านสิทธิมนุษยชนในรัฐฉานมากว่า 15 ปี ว่าด้วยบทบาทของออง ซาน ซู จี และพรรค NLD กับการแก้ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนในพม่า

วันดี สันติวุฒิเมธี

30 Mar 2018

World

13 Mar 2018

ศิลปะกับการเมืองและการต่อต้านเผด็จการทหาร : ประสบการณ์ของพม่า

สำหรับพม่า ศิลปะคือการเมือง ลลิตา หาญวงษ์ สำรวจศิลปะในการเมืองพม่า และการเมืองในศิลปะพม่า ผ่านผลงานของศิลปินเพลงฮิปฮอป ศิลปินตลก และศิลปินนักวาดภาพมือฉมัง ผู้ยอมแลกอิสรภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพและประชาธิปไตย

ลลิตา หาญวงษ์

13 Mar 2018

World

18 Jan 2018

วิกฤตโรฮิงญากับข้อถกเถียงในเชิงประวัติศาสตร์

ที่ผ่านมาผู้คนมักเข้าใจ “โรฮิงญา” ผ่านมุมมองด้านสิทธิมนุษยชนเป็นหลัก ลลิตา หาญวงษ์ คลี่ประวัติศาสตร์พม่า ชวนมองมุมใหม่ว่า แท้จริงแล้วอคติและความรุนแรงระหว่างชาวพุทธพม่ากับชาวมุสลิมโรฮิงญาเป็น “ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง” และความขัดแย้งไม่ใช่แค่เรื่องศาสนาเท่านั้น

ลลิตา หาญวงษ์

18 Jan 2018

World

28 Sep 2017

เรื่องเล่าจากรัฐยะไข่

วันดี สันติวุฒิเมธี เล่าประสบการณ์ตรงเกือบสิบปีก่อน เมื่อเดินทางเยือนซิตตวย เมืองหลวงของรัฐยะไข่ ในวันที่คนพุทธและคนมุสลิมยังใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันได้ แม้มีความแตกต่างอยู่ในใจ แต่ไม่มีใครแสดงความเกลียดชัง จนถึงกับต้องฆ่าฟันกันดังเช่นวันนี้

วันดี สันติวุฒิเมธี

28 Sep 2017

Asean

24 Aug 2017

ครั้งหนึ่งเราเคยพบกัน…ออง ซาน ซู จี “ฉันหรือเธอที่เปลี่ยนไป ?”

วันดี สันติวุฒิเมธี เล่าประสบการณ์ตรงในการสัมภาษณ์ออง ซาน ซู จี เมื่อเดือนธันวาคม 2553 สมัยเป็นบรรณาธิการนิตยสารสาละวินโพสต์ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนในกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่า “ซู จี เปลี่ยนไป” หลังขึ้นสู่อำนาจ

วันดี สันติวุฒิเมธี

24 Aug 2017

World

1 Aug 2017

เราพบกันเพราะหนังสือ: รู้จักตัวตนของออง ซาน ซู จีผ่าน “จดหมายจากพม่า”

ลลิตา หาญวงษ์ ชวนอ่านตัวตนและความคิดของ ออง ซาน ซู จี ผ่านหนังสือ “จดหมายจากพม่า” ของเธอ ผลงานที่เปิดเปลือยความคิดจิตใจและสามัญสำนึกของซู จีออกมาอย่างหมดจดในฐานะมนุษย์ปุถุชน มิใช่ในฐานะวีรสตรีของชาวพม่า

ลลิตา หาญวงษ์

1 Aug 2017

World

16 May 2017

พม่าหลังการเลือกตั้ง : 1 ปีผ่านไปไวเหมือนโกหก

ลลิตา หาญวงษ์ ประเมินสถานการณ์การเมืองพม่าหนึ่งปีกว่าให้หลังการเลือกตั้งแห่งความหวัง

สองปัญหาใหญ่ – เรื่องการเจรจาสันติภาพกับชนกลุ่มน้อย และ เรื่องโรฮิงยา – สั่นคลอนรัฐบาลพลเรือนพม่าอย่างไร

เมื่อ ออง ซาน ซู จี ก้าวขึ้นสู่อำนาจเต็มตัว เธอทำให้กองเชียร์ผิดหวังหรือสมหวังอย่างไร

ใครอยากรู้เบื้องลึกเบื้องหลังการเมืองพม่ายุคหลังเลือกตั้ง ห้ามพลาด!

ลลิตา หาญวงษ์

16 May 2017
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save