fbpx

World

5 Mar 2024

ญี่ปุ่นกับเงินซุกมุ้งใน LDP ที่กำลังเป็นกรณีอื้อฉาวใหม่ทางการเมือง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกรณี ‘เงินซุกมุ้ง’ ที่เป็นเรื่องอื้อฉาวระลอกใหม่ของพรรค LDP เพื่อเปิดไปสู่ ‘การเมืองเรื่องมุ้ง’ ในภาพใหญ่ ว่ามีความเป็นมาอย่างไรและมีบทบาทหน้าที่อะไรถึงได้กลายเป็นแบบแผนและสถาบันภายในพรรค LDP เรื่อยมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

5 Mar 2024

World

11 Dec 2023

การต่างประเทศในมือรัฐมนตรีหญิงของญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงการเปลี่ยนแปลงรัฐมนตรีการต่างประเทศของญี่ปุ่น ที่เปลี่ยนตัวจาก ‘ฮายาชิ’ เป็น ‘คามิกาวา’ การต่างประเทศในมือรัฐมนตรีหญิงจะเป็นอย่างไร และมีประเด็นอะไรอยู่เบื้องหลังการเปลี่ยนตัวครั้งนี้

สุภา ปัทมานันท์

11 Dec 2023

World

29 Sep 2023

เบื้องลึกนายฟุมิโอะ คิชิดะ ปรับคณะรัฐมนตรีครั้งที่สอง                                              

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งที่สองของรัฐบาลคิชิดะ ที่สะท้อนวิถีการรักษาอำนาจในการเมืองญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์

29 Sep 2023

World

16 Aug 2022

การปรับคณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่น: นัยทางการเมืองหลังการลอบสังหารอาเบะ

อ่านเกมการเมืองญี่ปุ่นผ่านการปรับคณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่นเมื่อ 10 สิงหาคม 2565 ที่มีหลายเรื่องซ้อนกันอยู่ ทั้งการเมืองหลังการลอบสังหารอาเบะ และการขับเคลื่อนนโยบายเพื่อแก้วิกฤตหลายด้านที่ญี่ปุ่นกำลังเผชิญ

สุภา ปัทมานันท์

16 Aug 2022

Media

15 Jul 2022

101 In Focus Ep.137: สิ้นอาเบะ สะเทือนญี่ปุ่น?: ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอดีตนายกฯ อาเบะ

สรุปการลอบสังหารมีเหตุจากอะไร? หน้าสื่อญี่ปุ่นเสนอความคืบหน้าในการสืบสวนไว้อย่างไรบ้าง? สังคมจะจดจำอาเบะอย่างไร? การเมืองญี่ปุ่นภายใต้รัฐบาลคิชิดะจะเปลี่ยนไปอย่างไร? อะไรคือความท้าทายที่รัฐบาลพรรค LDP ภายใต้การนำของคิชิดะต้องเผชิญเมื่อปราศจากอิทธิพลอาเบะ? แนวทางการต่างประเทศสายแข็งแบบอาเบะจะเปลี่ยนไปหรือไม่? 101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนมอง ‘ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอาเบะ’ 

กองบรรณาธิการ

15 Jul 2022

World

15 Jul 2022

ผลการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกญี่ปุ่นและความเชื่อมั่นต่อรัฐบาล

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงผลการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกญี่ปุ่นในวันที่ 10 กรกฎาคม 2565 โดยนายฟุมิโอะ คิชิดะ นายกรัฐมนตรี หัวหน้าพรรคแอลดีพี สามารถนำพรรคคว้าชัยชนะได้เสียงเกินกึ่งหนึ่ง

สุภา ปัทมานันท์

15 Jul 2022

World

13 Jul 2022

สิ้นอาเบะ สะเทือนญี่ปุ่น?: ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอดีตนายกฯ อาเบะ

การลอบสังหารผู้นำทางการเมืองมีเหตุจากอะไร? เกิดจากแรงจูงใจทางการเมืองหรือความไม่พอใจส่วนตัว? อะไรคือความท้าทายที่รัฐบาลพรรค LDP ภายใต้การนำของคิชิดะต้องเผชิญเมื่อปราศจากอิทธิพลอาเบะ? แนวทางการต่างประเทศสายแข็งแบบอาเบะจะเปลี่ยนไปหรือไม่? 101 ชวนมอง ‘ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอาเบะ’ ผ่านการวิเคราะห์ของ นภดล ชาติประเสริฐ และกิตติ ประเสริฐสุข สองนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านญี่ปุ่นศึกษา

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

13 Jul 2022

World

27 Jun 2022

จับตาการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกของญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์วิเคราะห์การเลือกตั้งวุฒิสมาชิกของญี่ปุ่นที่กำลังจะมาถึงใน 10 ก.ค. 2565 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดความนิยมของรัฐบาลคิชิดะ

สุภา ปัทมานันท์

27 Jun 2022

World

21 Oct 2021

ญี่ปุ่นและนายกฯ คนใหม่ในกระแสลมการเลือกตั้ง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์เส้นทางที่เต็มไปด้วยเรื่องเหนือความคาดหมายในการก้าวสู่ตำแหน่งหัวหน้าพรรค LDP ซึ่งปูทางให้ ฟุมิโอะ คิชิดะ ขึ้นมากุมบังเหียนรัฐบาล และความเป็นไปได้ของหมากเกมการเมืองหลังการประกาศยุบสภาเลือกตั้งใหม่

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

21 Oct 2021

Asia

13 Oct 2020

เมื่อญี่ปุ่นเริ่มขบคิดเรื่องการติดอาวุธจู่โจม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเรื่องการติดอาวุธจู่โจม (strike capability) ในญี่ปุ่น – อะไรคือข้อจำกัดที่ทำให้ญี่ปุ่นไม่อาจคิดที่จะมีสมรรถนะด้านนี้มาก่อน และปัจจัยใดที่ทำให้ญี่ปุ่นเริ่มมองเรื่องการติดอาวุธจู่โจมเป็นตัวเลือกเชิงยุทธศาสตร์ในเวลานี้

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

13 Oct 2020

Asia

9 Sep 2020

ญี่ปุ่นหลังยุคชินโซ อาเบะ กับ กิตติ ประเสริฐสุข

101 สนทนากับ รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติ ประเสริฐสุข รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับญี่ปุ่นในยุคหลังชินโซ อาเบะ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

9 Sep 2020

Talk Programmes

8 Sep 2020

101 One-On-One Ep.176 “ญี่ปุ่นหลังยุคชินโซ อาเบะ” – กิตติ ประเสริฐสุข

101 สนทนากับ รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติ ประเสริฐสุข รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับญี่ปุ่นในยุคหลังชินโซ อาเบะ

101 One-on-One

8 Sep 2020

Issue of the Age

16 Jun 2020

โควิดและโอกาสของญี่ปุ่นในยุทธศาสตร์ความมั่นคง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์โอกาสด้านยุทธศาสตร์ที่ญี่ปุ่นอาจหยิบฉวยในช่วงโควิดผ่านมุมมอง 3 ด้าน ซึ่งช่วยให้เห็นแนวโน้มปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐมหาอำนาจหลักและรองในเอเชีย ตลอดจนระเบียบของภูมิภาคที่จะดำเนินต่อไปในระยะยาว

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

16 Jun 2020

Issue of the Age

2 Jun 2020

ญี่ปุ่นในสมรภูมิ COVID-19 กับ ธีวินท์ สุพุทธิกุล

101 สนทนากับ ผศ.ดร.ธีวินท์ สุพุทธิกุล ถึงสถานการณ์การแพร่ระบาด และการรับมือกับไวรัส COVID-19 ของประเทศญี่ปุ่น

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

2 Jun 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save