China

6 Nov 2023

มรณกรรมของ ‘หลี่เค่อเฉียง’ กับความเปราะบางของการเมืองจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงการเสียชีวิตของ หลี่เค่อเฉียง อันสะท้อนความซับซ้อน ผันผวนปรวนแปร และเปราะบางของการเมืองจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Nov 2023

World

9 Mar 2023

พรรคคุมรัฐ: ทิศทางใหม่การเมืองจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง แนวโน้มการปฏิรูประบบราชการและการจัดความสัมพันธ์กับพรรคคอมมิวนิสต์จีน ที่อาจเปิดให้สีจิ้นผิงมีอำนาจอย่างมากจนจีนตกอยู่ในสภาวะ ‘พรรคคุมรัฐ’

อาร์ม ตั้งนิรันดร

9 Mar 2023

World

10 Jan 2023

สามสิ่งที่ต้องจับตาจีนในปีใหม่

อาร์ม ตั้งนิรันดร ชวนจับตามอง 3 การเคลื่อนไหวของจีนในปี 2023 จากทั้งการเปลี่ยนผ่านในทีมบริหารของรัฐบาลจีน นโยบายเศรษฐกิจเพื่อเดินเครื่องหลังล็อกดาวน และสัญญาณการหันกลับมาเดินหน้าจัดประชุมใหญ่ความร่วมมือ Belt and Road ครั้งที่ 3 เพื่อเปิดเกมรุกในการแสดงบทบาผู้นำและรวมกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและการลงทุนภายหลังโควิด

อาร์ม ตั้งนิรันดร

10 Jan 2023

World

24 Nov 2022

งานวิจัยจีนมีคุณภาพจริงหรือ? : มองสังคมการเมืองจีนผ่านโลกงานวิชาการ

101 ชวนอ่านงานวิจัยของ Daron Acemoglu, Jie Zhou และ David Yang เข้าไปศึกษาระบบโครงสร้างอำนาจแบบจีน มันส่งผลอย่างไรกับทิศทางและคุณภาพงานวิจัย

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

24 Nov 2022

Podcast

14 Oct 2022

101 In Focus Ep.150: สีจิ้นผิงสมัยที่ 3 และเกมเดิมพันอำนาจ

อะไรที่ทำให้สีจิ้นผิงมาถึงจุดนี้ได้? แนวทางการเมืองที่เน้นอำนาจเบ็ดเสร็จและให้ความสำคัญกับเป้าหมายทางการเมืองและทางยุทธศาสตร์มาก่อนเป้าหมายทางเศรษฐกิจของสีจิ้งผิงจะมีทิศทางอย่างไรต่อ หรือนี่จะกลายเป็นเกมเดิมพันอำนาจที่อยู่บนความสุ่มเสี่ยง? การปรับสมาชิกในโปลิตบูโรและรายงานที่จะออกมาจากการประชุมมีประเด็นอะไรที่น่าจับตามองบ้าง? ติดตามได้ใน 101 In Focus สัปดาห์นี้

กองบรรณาธิการ

14 Oct 2022

World

11 Oct 2022

สีจิ้นผิงกับการหมุนเวลากลับ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง การหมุนเวลาย้อนสวนทางยุคเปิดและปฏิรูปของสีจิ้นผิง และเดิมพันของแนวการเมืองแบบความมั่นคงนำเศรษฐกิจที่อาจเสียสมดุลในวันที่เศรษฐกิจส่อเค้าที่จะทรุดลง

อาร์ม ตั้งนิรันดร

11 Oct 2022

World

9 Sep 2022

46 ปีแห่งการจากไปของเหมาเจ๋อตง: ทำไมเหมาเจ๋อตง(โหด)ร้ายแค่ไหน คนจีนก็ยังรัก

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์ เขียนถึงการสร้าง ‘เหมาเจ๋อตง’ ให้เป็นวีรบุรุษของจีนมาจนถึงปัจจุบัน แม้ว่าเขาจะอยู่เบื้องหลังการทำร้ายผู้คนจำนวนมหาศาลในช่วงปฏิวัติวัฒนธรรม

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

9 Sep 2022

World

3 Jun 2022

เมื่อสันติวิธีคือความผิดบาป: อ่านชีวิต ‘จ้าวจื่อหยาง’ นักปฏิรูปหัวก้าวหน้ากับอิสรภาพที่หายไปในเทียนอันเหมิน 1989

เรื่องราวชีวิตของจ้าวจื่อหยาง อดีตผู้นำในพรรคคอมมิวนิสต์จีน ที่ถูกคุมขังจนวันสุดท้ายของชีวิต เพราะเข้าเจรจากับนักศึกษาที่จัตุรัสเทียนอันเหมินปี 1989

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

3 Jun 2022

World

10 May 2022

จีนกับเศรษฐกิจไบโพลาร์

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง สภาวะ ‘สองขั้ว’ ของเศรษฐกิจจีน ระหว่างฝ่ายความมั่นคงที่ให้ความสำคัญกับการพึ่งพิงตนเองในนามของความมั่นคงในประเทศและฝ่ายเทคโนแครตที่ให้ความสำคัญกับความเจริญทางเศรษฐกิจ ที่ย่อมแยกไม่ออกจากระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

10 May 2022

World

2 Feb 2022

สีจิ้นผิงกับคำสาปสามชั่วคน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ‘คำสาปสามชั่วอายุคน’ ในยุคสีจิ้นผิง ว่า ความเจริญรุ่งเรืองของจีนจะต้องเผชิญกับจุดจบตามคำสาปหรือไม่ หรือกำลังจะเข้าสู่ ‘ยุคใหม่’ ที่จีนจะแข็งแกร่งขึ้นมา เปิดยุคใหม่ต่อจากยุคปฏิรูปและเปิดประเทศ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

2 Feb 2022

World

14 Dec 2021

สีจิ้นผิง จักรพรรดิจีนกับการเดิมพันอำนาจ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงเกมเดิมพันอำนาจของสีจิ้นผิง เปรียบเทียบกับจักรพรรคจีนในประวัติศาสตร์ ว่าจุดจบและภาคต่อของยุคสีจิ้นผิงที่นิยมใช้การเมืองแบบ ‘แข็ง’ จะมีทางลงอย่างไรได้บ้าง

อาร์ม ตั้งนิรันดร

14 Dec 2021

World

28 Jun 2021

วาทกรรมมือที่สามในยามที่จีนก้าวเป็นใหญ่ในภูมิภาค

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์วาทกรรม ‘มือที่สาม’ ซึ่งเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของจีน เพื่อสร้างภาพพจน์และส่งเสริมอำนาจจีนในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

28 Jun 2021

China

8 Jan 2021

ถ้าไม่มีโจว เอินไหล… ก็ไม่มีมหาอำนาจจีนในวันนี้

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึง ‘โจว เอินไหล’ หนึ่งในมหาบุรุษที่ชาวจีนเคารพรักมากที่สุด ในวาระครบรอบ 45 ปีการถึงแก่อสัญกรรม

ปิติ ศรีแสงนาม

8 Jan 2021

China

3 Aug 2020

วิกฤตอู่ฮั่นเป็นคันฉ่องส่องสังคมจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร ชวนมองวิกฤตการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในอู่ฮั่น รวมถึงวิเคราะห์ความสำเร็จในการควบคุมโรคระบาดที่สะท้อนลักษณะเด่นของสังคมจีนยุคปัจจุบัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

3 Aug 2020

China

18 Feb 2020

เกมการบั่นคลอนสถานะ : อีกหนึ่งแนวปะทะสองฝั่งฟากช่องแคบไต้หวัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเกมการ ‘บั่นคลอน’ สถานะของจีนและไต้หวันบนเวทีระหว่างประเทศ พร้อมทั้งหาคำตอบว่าการแข่งขันดังกล่าวเป็นแนวหน้าที่สำคัญอย่างไร และทั้งสองฝั่งใช้กลยุทธ์อะไรเพื่อต่อกรกัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

18 Feb 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save