fbpx

Spotlights

18 Sep 2020

สนามหลวง-สนามราษฎร : พื้นที่ต่อสู้ทางอุดมการณ์และความทรงจำร่วมของประชาชน

ชวนอ่านทัศนะจาก ชาตรี ประกิตนนทการ ถึงประวัติศาสตร์สนามหลวงในเชิงการเมืองที่สัมพันธ์กับสามัญชน และ สุชาติ สวัสดิ์ศรี ถึงชีวิตชีวาของสนามหลวงในฐานะพื้นที่ศูนย์กลางความหลากหลายของประชาชน

วจนา วรรลยางกูร

18 Sep 2020

Life & Culture

4 Aug 2020

การสืบราชสันตติวงศ์โดยราชสกุล “มหิดล”

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงเรื่องราวการขึ้นครองราชสมบัติของกษัตริย์ราชสกุล “มหิดล” ซึ่งมีบทบาทในฐานะผู้สืบราชสันตติวงศ์ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร 2475

กษิดิศ อนันทนาธร

4 Aug 2020

Politics

26 Jun 2020

ล้ม ลุก คลุกคลาน: สำรวจสามัญชน ในวังวนประชาธิปไตย

ธีรภัทร อรุณรัตน์ เก็บความวงเสวนา “2475: ความรู้ ความทรงจำและสถานการณ์ปัจจุบัน” ที่สะท้อน 2475 ในแง่มุมกฎหมาย วิถีชีวิต วัฒนธรรม จนถึงสิ่งปลูกสร้าง

ธีรภัทร อรุณรัตน์

26 Jun 2020

Videos

24 Jun 2020

The Mo(nu)ment of Democracy : อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยในอนุสาวรีย์

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นพื้นที่เรียกร้องความเป็นธรรมของประชาชนจากทั่วทุกหย่อมหญ้า และเป็นวงเวียนที่นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกเคยสัญจรผ่าน ความเป็นประชาธิปไตยของอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยดำเนินมาอย่างไรในห้วงยามที่ประชาธิปไตยไหวเอน
101 Documentary ชวนชม The Mo(nu)ment of Democracy : อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยในอนุสาวรีย์

กองบรรณาธิการ

24 Jun 2020

Thai Politics

24 Jun 2020

อภิวัฒน์สยาม 2475 : อดีต ปัจจุบัน อนาคต

101 ขอนำเสนอซีรีส์ “อภิวัฒน์สยาม 2475” เพื่ออ่านอดีต เข้าใจปัจจุบัน และมองอนาคตของประชาธิปไตยไทยในมิติการเมือง กฎหมาย เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ และสังคมวัฒนธรรม

กองบรรณาธิการ

24 Jun 2020

Thai Politics

6 May 2020

กว่าจะเป็นประชาธิปไตย: ไทยเราอยู่ไหนในแผนที่ประชาธิปไตยโลก

วรรษกร สาระกุล ชวนสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของประชาธิปไตยไทยในกระแสโลกนับแต่อดีต ผ่านภาพเปรียบเทียบที่จะทำให้เห็นมุมกว้างของระบอบการปกครองโลก

วรรษกร สาระกุล

6 May 2020

Thai Politics

17 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (ตอนจบ)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 6 ว่าด้วยเอกสารพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 และการประสานความไม่ลงรอยในรัฐธรรมนูญ 2489

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

17 Jan 2020

Thai Politics

10 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (5)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 5 ว่าด้วยคณะราษฎรกับการจำกัดอำนาจกษัตริย์ไว้ใต้รัฐธรรมนูญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

10 Jan 2020

Thai Politics

3 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (4)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 4 เรื่องข้อเสนอของฟรานซิส บี แซร์และแนวคิดต้นแบบของรัฐธรรมนูญฝ่ายอนุรักษนิยม

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

3 Jan 2020

Thai Politics

27 Dec 2019

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (3)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 3 ว่าด้วยปัญหาการบริหารงานที่เป็นโจทย์การจัดการปฏิรูปหรือเปลี่ยนแปลงการปกครอง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

27 Dec 2019

Thai Politics

20 Dec 2019

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (2)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 2 ว่าด้วยการตั้งต้นระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่อีกครั้งหนึ่งในปี 2489 อันเกิดจากบทบาทของปรีดี พนมยงค์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

20 Dec 2019

Thai Politics

13 Dec 2019

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (1)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยชิ้นใหม่ ‘พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 กับแนวคิดและเงื่อนไขทางการเมืองในการฟื้นฟูสถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475’ ในรูปแบบบทความชุดความยาว 6 ตอนจบ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

13 Dec 2019

Thai Politics

19 Nov 2019

‘เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ’ การเมืองในละคร และ ‘คณะราษฎร’ ผู้รับบทตัวร้ายตลอดกาล

101 คุยกับ เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ ถึงภาพของคณะราษฎรที่ปรากฏผ่านละครในฐานะ ‘ตัวร้าย’ การเมืองในละครหลังข่าว และทิศทางความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมละครไทย

วจนา วรรลยางกูร

19 Nov 2019
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save