‘ทหาร’ เงามืดของประชาธิปไตย: บทเรียนจากลาตินอเมริกา
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ตอบคำถามของ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ที่ว่า “ทหารมีไว้ทำไม?” โดยยกบทเรียนจากลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ตอบคำถามของ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ที่ว่า “ทหารมีไว้ทำไม?” โดยยกบทเรียนจากลาตินอเมริกา
101 สนทนากับ “นิธิ เอียวศรีวงศ์” ในวาระ 4 ปี คสช. ว่าด้วยอนาคตการเมืองไทย ประชาธิปไตย และสัญญาประชาคมใหม่ของสังคมในระยะเปลี่ยนผ่าน
อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ และสมชาย ปรีชาศิลปกุล วิพากษ์ “4 ปี คสช.” ว่าด้วยปมเงื่อนการเมืองไทย แผนที่ดุลอำนาจใหม่ และเส้นทางยาวไกลของการเมืองภาคพลเมือง
นีไม่ใช่งานวิจารณ์หนังสือ แต่เป็นแค่ ‘การกลับไปเยี่ยมบ้าน’ (Revisit) งานวรรณกรรมสมัยใหม่ที่เก่าแล้ว ของนักเขียนที่อื้อฉาวที่สุดคนหนึ่ง ผู้มีนามปากกว่า – คำ ผกา
คำ ผกา บอกว่า ไม่ได้ revisit จะให้เป็น ‘กระทู้ดอกทอง’ เพราะจะไม่โฟกัสไปที่ความเป็นหญิง หรือความเป็นชาย แต่แค่อยาก revisit โดยไม่มีเฟรมความคิดอะไรเลย แล้วไปเสี่ยงเอาข้างหน้าว่าจะเห็นอะไรจากการ revisit นี้
คุณอยากเห็น ‘การเสี่ยง’ ของเธอหรือเปล่าล่ะ!
ใครๆ (ใช่-ทุกคนนั่นแหละ) ก็บอกว่าอยากปกครองแบบประชาธิปไตย การได้มาซึ่งประชาธิปไตยนั้น มันไม่ง่ายอย่างที่คิดนี่สิ แต่ละสังคมมี ‘กระบวนท่า’ เปลี่ยนผ่านตัวเอง ในอันที่จะขยับตัวลุกจากการปกครองที่ ‘ไม่ประชาธิปไตย’ ไปสู่ระบอบการปกครองที่เป็นประธิปไตยมากขึ้น ไปดูกันไหม ว่าการเปลี่ยนผ่านจากเผด็จการอำนาจนิยมสู่ประชาธิปไตยในแต่ละสังคมนั้น มันมี ‘ขั้นตอน’ อะไรบ้าง
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า