Research Roundup 2022 : “จินตนาการใหม่-แผลเป็น-เปราะบาง” : อนาคตนโยบายเด็กและครอบครัวไทยในสามวิกฤต
พบกับการนำเสนองานวิจัยและวงสนทนาความรู้ 4 วงใน 4 หัวข้อแห่งยุคสมัย โดยนักวิจัยและแขกรับเชิญหลากหลาย
ตั้งแต่วันที่ 27-30 ก.ย. 65 บ่ายโมงตรงเป็นต้นไป

พบกับการนำเสนองานวิจัยและวงสนทนาความรู้ 4 วงใน 4 หัวข้อแห่งยุคสมัย โดยนักวิจัยและแขกรับเชิญหลากหลาย
ตั้งแต่วันที่ 27-30 ก.ย. 65 บ่ายโมงตรงเป็นต้นไป
101 สัมภาษณ์ อานนท์ ชวาลาวัณย์ ผู้ก่อตั้ง พิพิธภัณฑ์สามัญชน Museum of Popular History ที่เริ่มจากการค่อยๆ เก็บสิ่งของจากการเคลื่อนไหวทางการเมืองตั้งแต่ปี 2561 และเก็บย้อนหลังเพื่อประกอบร่างประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองของภาคประชาชน เริ่มต้นตั้งแต่ปฏิวัติ 2475 เหตุการณ์เดือนตุลา พฤษภา 35 เสื้อเหลือง เสื้อแดง กปปส. มาจนถึงการชุมนุมของกลุ่มคนรุ่นใหม่ในยุคปัจจุบัน
101 สนทนากับ ภาณุพงศ์ จาดนอก หลังจากที่เขาต้องเข้าเรือนจำเป็นครั้งที่ห้าด้วยคดีการชุมนุมรวมถึงความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร มาตรา 112 และปลายทางของประเทศไทยที่ทอดตัวยาวอยู่ ณ จุดไหนสักแห่งในอนาคต
ทำไมต้องทะลุแก๊ส? 101 ชวนอ่านข้อค้นพบสำคัญจากรายงาน “การก่อตัว พัฒนาการ และพลวัตการชุมนุมบริเวณแยกดินแดงช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม 2564” โดย กนกรัตน์ เลิศชูสกุล และธนาพงศ์ เกิ่งไพบูลย์ พร้อมทั้งต่อยอดจากงานวิจัยด้วยทัศนะและข้ออภิปรายเกี่ยวกับม็อบดินแดง เพื่อหาคำตอบว่าเราจะทำความเข้าใจปรากฏการณ์ ‘ทะลุแก๊ส’ อย่างไร อะไรคือความฝันและแรงผลักดันที่ทำให้พวกเขาออกมาเคลื่อนไหว ทางออกของเรื่องนี้อยู่ตรงไหน อะไรคือประเด็นที่สังคมไทยต้องมาขบคิดร่วมกัน
The101.world ร่วมกับภาควิชาปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดวงเสวนา ‘ทำไมต้องทะลุแก๊ส’ เพื่อหาคำตอบว่า เราจะทำความเข้าใจปรากฏการณ์ ‘ทะลุแก๊ส’ นี้ได้อย่างไร ใครคือผู้เข้าร่วมหลักของขบวนการ พวกเขาคิดฝันทางการเมืองอย่างไร อะไรคือแรงผลักในการเคลื่อนไหว ทำไมต้องปะทะ ขบวนการเคลื่อนไว้นี้เกี่ยวโยงและส่งผลกับขบวนการประชาธิปไตยภาพใหญ่แค่ไหน และอะไรคือทางออกที่สังคมไทยต้องขบคิดร่วมกัน
พริษฐ์ วัชรสินธุ เขียนถึงบทเรียนจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ที่สะท้อนการเคลื่อนไหวภาคประชาชนในเหตุการณ์ปัจจุบัน
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดเรื่องวิธีการมองสันติวิธีในไทย และปัจจัยที่จะทำให้การเคลื่อนไหวแบบไม่ใช้ความรุนแรงมีความหมาย
คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงกระแส call-out หรือการเรียกร้องให้เหล่าคนดังออกมาแสดงจุดยืนต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเล่าตั้งแต่อิมแพ็คของการ call-out ระดับโลก ก่อนจะวกกลับมาวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้การแสดงจุดยืนกลายเป็นเรื่องห้ามพูดในวงการบันเทิงไทย
หากย้อนกลับไปเมื่อต้นปีเราคงมิอาจจินตนาการถึงเหตุการณ์เหล่านี้ได้เลย แต่ทว่ามันเกิดขึ้นแล้ว และสังคมไทยจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป
101 รวบรวม 36 ภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี 2020 ปีแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของประเทศไทย
อุเชนทร์ เชียงเสน ชวนทำความเข้าใจและเสนอแนวทางเกี่ยวกับการจัดการการ์ดการชุมนุม ผ่านข้อเสนอ 9 ลำดับขั้นตอน
ในวันที่เส้นทางสู่ประชาธิปไตยเต็มไปด้วยขวากหนาม 101 ต่อสายตรงสนทนากับ โจชัว หว่อง ว่าด้วยการรักษาความหวังในวันที่มืดมิด แสงสว่างจากพลังของคนรุ่นใหม่ในการเคลื่อนไหว ไปจนถึงภราดรภาพและภาพซ้อนทับของการเรียกร้องประชาธิปไตยในไทยและฮ่องกง
วิชาหน้าที่พลเมือง ระบบการศึกษาภาพใหญ่ ความชอบธรรมของรัฐบาลทหาร การเมืองในมหาวิทยาลัย รวมไปถึงบทบาทของสถาบันกษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย
สำรวจ ชีวิต-ตัวตน-ความคิด ของพริษฐ์ ชิวารักษ์ เพื่อรู้จัก ‘เพนกวิน’ และสังคมไทยมากขึ้น
วิชาหน้าที่พลเมือง ระบบการศึกษาภาพใหญ่ ความชอบธรรมของรัฐบาลทหาร การเมืองในมหาวิทยาลัย รวมไปถึงบทบาทของสถาบันกษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย
สำรวจ ชีวิต-ตัวตน-ความคิด ของพริษฐ์ ชิวารักษ์ เพื่อรู้จัก ‘เพนกวิน’ และสังคมไทยมากขึ้น
ไม่ว่าจะเห็นด้วยกับการชุมนุมหรือไม่ นี่คือการเคลื่อนไหวทางการเมืองโดย ‘คนรุ่นใหม่’ ที่แหลมคมที่สุดครั้งหนึ่ง และจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมไทยต้องทำความเข้าใจและรับฟังอย่างตั้งใจ
คุยกับ ผศ.ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในห้วงเวลาที่ ‘คนรุ่นใหม่’ ที่นำโดยนิสิต นักศึกษา และนักเรียนออกมาเคลื่อนไหวอย่างทรงพลัง
ไม่ว่าจะเห็นด้วยกับการชุมนุมหรือไม่ นี่คือการเคลื่อนไหวทางการเมืองโดย ‘คนรุ่นใหม่’ ที่แหลมคมที่สุดครั้งหนึ่ง และจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมไทยต้องทำความเข้าใจและรับฟังอย่างตั้งใจ
คุยกับ ผศ.ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในห้วงเวลาที่ ‘คนรุ่นใหม่’ ที่นำโดยนิสิต นักศึกษา และนักเรียนออกมาเคลื่อนไหวอย่างทรงพลัง
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า