fbpx

ผลงานยอดนิยม

6 May 2017

10 ผลงาน ยอดอ่านสูงสุดของ The101.world (มีนาคม-เมษายน 2560)

The101.world ออกเดินก้าวแรกในฐานะสื่อความรู้สร้างสรรค์ ที่พยายามถามคำถามที่ ‘ใช่’ ในเรื่องสำคัญของชีวิตผู้คนและสังคม มาได้สองเดือนเต็มแล้ว

และนี่คือผลงานยอดนิยมที่มีผู้อ่านสูงสุดของเราในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน 2560

กองบรรณาธิการ

6 May 2017

Global Affairs

14 Apr 2017

วิธีอ่าน 101

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ หัวหน้าภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดคอลัมน์ ‘อ่านโลก แบบ 101’ ทุกวันศุกร์ที่ 2 ของเดือน

“ครูสอนอ่านของผมท่านสอนวิธีอ่านงานวิชาการในสาขาที่ผมเรียนว่า ดนตรีไทยเขามี 3 ชั้น การอ่านเอาเรื่องเพื่อหาและสร้างความรู้ในสาขาของเราก็ต้องฝึกอ่าน 3 ชั้นเป็นพื้นฐานเหมือนกัน …

… ครูของผมใช้ทางอ่าน 3 ชั้นอ่านอะไรๆ ออกมาได้ล้ำลึกพิสดาร แต่พื้นฐานตั้งต้นในการอ่าน 3 ชั้นนี้ความจริงแล้วเรียบง่ายมากครับ ขึ้นอยู่กับว่าใครจะพลิกแพลงกระบวนท่าไปใช้ได้ถึงขั้นไหน”

วิธีอ่าน 3 ชั้น มีเคล็ดวิชาอย่างไร เชิญฝึก ‘วิธีอ่านโลกแบบเอาเรื่อง’ กับ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ได้เลยครับ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

14 Apr 2017

Books

10 Mar 2017

โตมร ศุขปรีชา : เพราะการอ่านเป็นเรื่อง ‘อัตวิสัย’

โตมร ศุขปรีชา เป็นตัวแทนจาก 101 เข้าไปเป็นหนึ่งในคณะกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ เขาออกตัวว่าน่าจะเป็นกรรมการสาย ‘(สู่) รู้ทุกเรื่อง-แต่ไม่รู้จริงสักเรื่อง’ แต่ถ้าดูจากงานที่เขาทำ เราจะเห็นว่าคำว่า Well-Rounded น่าจะเหมาะสมกับตัวเขามากที่สุด และดังนั้น เขาจึงน่าจะเป็นตัวแทน ‘ความน่าจะอ่าน’ ในอีกรูปแบบหนึ่งได้เป็นอย่างดี

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

10 Mar 2017

Books

10 Mar 2017

แชมป์-ทีปกร วุฒิพิทยามงคล : เมื่อเสพสื่อดิจิตอลจนล้า คนจะกลับมาอ่านหนังสือเล่ม

แชมป์-ทีปกร วุฒิพิทยามงคล เป็นกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ ที่อายุน้อยที่สุด ด้วยเหตุนี้ เขาจึงถูกยัดเยียดความเป็น ‘ตัวแทนคนรุ่นใหม่’ ให้โดยปริยาย แต่ถ้าดูจากหนังสือที่แชมป์ชอบอ่าน จะพบว่าเขาชอบหนังสือที่เกี่ยวกับโลกยุคใหม่ เทรนด์ เทคโนโลยี และเรื่องเชิงสังคมที่คนทั่วไปอาจรู้สึกว่าย่อยยาก แชมป์จึงเป็นตัวแทนหนังสือแนว non-fiction ไปพร้อมกับความเป็นคนรุ่นใหม่ด้วย

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

10 Mar 2017

Books

10 Mar 2017

ทราย เจริญปุระ : การอ่านไม่เห็นต้องปีนบันได

ในการพบปะกันครั้งแรก ทราย เจริญปุระ เป็นผู้ที่บอกว่า “โปรเจ็กต์นี้นี้น่าจะเรียกว่า ‘ความน่าจะอ่าน’ เนอะ” แล้วโปรเจ็กต์นี้ก็ได้ชื่อนี้ขึ้นมาจริงๆ เป็นชื่อที่เหมาะมากกับโปรเจ็กต์ทั้งหมด น่าจะพูดได้ว่า ทรายเป็นนักอ่านที่อ่านหนังสือกว้างขวางที่สุดในบรรดากรรมการทั้งหมด เธอบอกว่าตัวเองเป็นตัวแทนของ ‘นักอ่านสายป๊อบ’ ซึ่งก็มาเป็นจิ๊กซอว์ให้กับคณะกรรมการทั้งหมดได้ลงตัวอย่างยิ่ง

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

10 Mar 2017

Books

9 Mar 2017

สฤณี อาชวานันทกุล : คุณค่าทางวรรณกรรม ใครเป็นคนกำหนด?

สฤณี อาชวานันทกุล หนึ่งในคณะกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ ชวนเรามาตั้งคำถามว่า ‘คุณค่า’ ของรางวัลวรรณกรรมต่างๆ คืออะไร ประเด็นนี้ไม่เพียงสำคัญ แต่ยังชวนเราตั้งคำถามกับสิ่งที่เป็นอยู่ เพื่อก้าวสู่ความน่าจะเป็นในอนาคตด้วย

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

9 Mar 2017

Books

8 Mar 2017

นิวัต พุทธประสาท : คนทำหนังสือยุคนี้ ควรมีทัศนคติที่ดีต่อสื่อออนไลน์

นิวัตเป็นทั้งนักเขียน นักอ่าน และบรรณาธิการที่ทำงานด้านวรรณกรรมไทยมากว่า 20 ปี เขาบอกว่าสื่อออนไลน์คืออาวุธที่ต้องใช้เพื่อเข้าถึงคนอ่านให้กว้างที่สุด ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ทำไม 101 จึงเชื้อเชิญเขามาร่วมเป็นกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ เพื่อร่วมสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ติดตามความคิดของเขาได้-ที่นี่!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2017

Books

8 Mar 2017

ความน่าจะอ่าน กับการแนะนำหนังสือที่ ‘เอาแต่ใจที่สุด’

‘ความน่าจะอ่าน’ เกิดขึ้นด้วยแนวคิดที่ผสมกันระหว่าง ‘การรีวิว’ และ ‘การให้รางวัล’ โดยมีคอนเซ็ปต์ง่ายๆว่า ไม่ต้องซีเรียสจริงจังนั่งกอดอกพยักหน้า ไม่ต้องเกรงบารมีผู้ทรงคุณวุฒิใดๆทั้งสิ้น ใครจะเชื่อไม่เชื่อก็สุดแล้วแต่ ชอบไม่ชอบก็แชร์กันได้ กับ 5 กรรมการ อย่าง นิวัต พุทธประสาท / สฤณี อาชวานันทกุล / ทราย เจริญปุระ / ทีปกร วุฒิพิทยามงคล และ โตมร ศุขปรีชา ที่ 101 ชวนมาคัดเลือกหนังสือแนะนำตามใจและความชอบของพวกเขาเองล้วนๆ

ถ้าอยากรู้ว่าคนเหล่านี้จะเลือกหนังสืออะไรมาแนะนำบ้าง-โปรดติดตาม!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2017

Books

6 Mar 2017

ความน่าจะอ่าน : ทำไมไม่อ่าน?

คนไทยอ่านหนังสือกันปีละกี่บรรทัด?

ถามคนแต่ละคน คงได้ตัวเลขที่แตกต่างกันไม่รู้จบ แต่ที่เห็นพ้องต้องกันแน่ๆ ก็คือการอ่านของสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า-พวกเราชาวไทยนั้น, มันน้อยจริงๆ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

6 Mar 2017
1 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save