fbpx

Education

19 Nov 2020

คุณค่าของชีวิต

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ มองการออกมาประท้วงของนักเรียนนักศึกษาผ่านจิตวิทยาพัฒนาการ เมื่อหลังจากอายุ 7 ปี เด็กจะเริ่มสนใจสังคม และหลังอายุ 12 ปี เขาจะเริ่มตั้งคำถามกับ ‘คุณค่า’ ของชีวิตตนเอง

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

19 Nov 2020

Talk Programmes

16 Oct 2020

101 One-On-One Ep.187 : อ่านวัฒนธรรมการลงโทษในโลกการศึกษา กับ กานน คุมพ์ประพันธ์ และอุฬาชา เหล่าชัย

101 สนทนากับอาจารย์กานน คุมพ์ประพันธ์ และอาจารย์อุฬาชา เหล่าชัย ร่วมกันถอดรื้อปัญหาวัฒนธรรมอำนาจนิยม ระบบการผลิตครู ความเชื่อและมุมมองเกี่ยวกับการลงโทษด้วยความรุนแรงในระบบการศึกษาไทย

101 One-on-One

16 Oct 2020

Happy Family

15 Oct 2020

โตขึ้นอยากเป็นอะไร: คุยกับร่มเกล้า ช้างน้อย ครูผู้ขอให้ศิษย์ ‘เป็นมนุษย์’

ชลิดา หนูหล้า สนทนากับ ครูกุ๊กกั๊ก-ร่มเกล้า ช้างน้อย ครูจากโรงเรียนมัธยมวัดดุสิตาราม ว่าด้วยการทำความเข้าใจวัยรุ่นโดยให้ความสำคัญกับความเป็นมนุษย์ หาคำตอบว่าครูจะสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้วัยรุ่นได้อย่างไรในสถานการณ์ที่โรงเรียนอาจสร้างบาดแผลให้พวกเขา

ชลิดา หนูหล้า

15 Oct 2020

Education

12 Oct 2020

โรงเรียนของเราน่าอยู่? : ความเจ็บปวดของวัยขาสั้นคอซองยุคโบว์ขาว

เมื่อ ‘ความเจ็บปวด’ ที่ถูกทำให้เงียบมานานเริ่มส่งเสียง 101 สนทนากับนักเรียนมัธยมผู้เจ็บปวด และครูทิว-ธนวรรธน์ สุวรรณปาล ครูจากเครือข่ายครูขอสอน ผู้อยู่เคียงข้างนักเรียนและผลักดันให้โรงเรียนกลายเป็นพื้นที่ปลอดภัยอย่างแท้จริง เพื่อทำความเข้าใจโลกในรั้วโรงเรียนว่าทำไมนักเรียนจึงเจ็บปวด อะไรอยู่ใต้ภูเขาน้ำแข็งแห่งความเจ็บปวดนี้ และอะไรคือยาที่จะรักษาความเจ็บปวดของนักเรียนได้

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Oct 2020

Education

1 Oct 2020

กรณีเด็กถูกทำร้าย-เรื่องที่คุณพ่อคุณแม่ควรทำก่อน

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงสิ่งที่พ่อแม่ควรทำเมื่อลูกถูกทำร้ายร่างกายหรือล่วงละเมิด สิ่งสำคัญคือการพาลูกเข้าพบจิตแพทย์เด็กโดยเร็ว อย่ามัวรอหน่วยงานราชการให้เป็นข่าวเอิกเกริก

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

1 Oct 2020

Education

15 Sep 2020

ประวัติศาสตร์ที่เริ่มต้นด้วยคำถามและไม่ต้องรีบเชื่อ ในห้องเรียนของ ครูภาคิน นิมมานนรวงศ์

สนทนากับครูภาคิน นิมมานนรวงศ์ ว่าด้วยการสอนวิชาประวัติศาสตร์ที่ไม่ใช่แค่การจำไปสอบ ความสำคัญของการตั้งคำถาม ประวัติศาสตร์ที่นักเรียนอยากรู้แต่ครูไม่อยากสอน ไปจนถึงห้องเรียนและหลักสูตรในฝันที่ไม่กักขังทั้งครูและนักเรียน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

15 Sep 2020

Education

10 Sep 2020

‘การประเมินสำคัญไม่แพ้การสร้างสรรค์’ แนวทางเสริมทักษะชีวิตเด็กด้อยโอกาสจากอินเดีย

101 ถอดบทเรียนแนวทางจัดโครงการส่งเสริมทักษะชีวิตและระบบวัดประเมินผลจากอินเดีย เพื่อสร้างการเรียนการสอนทักษะที่สำคัญในโลกยุคใหม่แก่เด็กด้อยโอกาสของไทย

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

10 Sep 2020

Videos

10 Sep 2020

101 Gaze Ep.2 “(วิชา) ประวัติศาสตร์จะไม่ซ้ำ ประวัติศาสตร์จะต้องเปลี่ยน”

สำรวจการเรียนประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นรุ่นใหม่ ในโลกที่เปลี่ยนแปลงไปแล้ว พร้อมตอบคำถามสำคัญ จะทำอย่างไรให้วิชาประวัติศาสตร์เชื่อมโยงกับนักเรียน ห้องเรียนประวัติศาสตร์ในฝันควรเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

10 Sep 2020

Education

2 Sep 2020

ด้วยความระลึกถึงเคน โรบินสัน ผู้เชื่อมั่นในสีสันแห่งการเรียนรู้

บทความระลึกถึง เซอร์เคนเนธ โรบินสัน (Sir Kenneth Robinson) ที่เสียชีวิตในวันที่ 21 สิงหาคม 2563 ภาคีสมาชิกราชสมาคมศิลปะแห่งลอนดอน และนักการศึกษาผู้อุทิศตนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์

ชลิดา หนูหล้า

2 Sep 2020

Thai Politics

2 Sep 2020

“สังคมศึกษา วิชาการเมืองในโรงเรียน” – วรุตม์ อินทฤทธิ์

101 สนทนากับ วรุตม์ อินทฤทธิ์ ไล่เรียงบทเรียนสังคมศึกษาซึ่งเชื่อมโยงกับการเมืองแต่ละยุค มาจนถึงวันที่ครูต้องปรับตัว สอนเด็กรุ่นใหม่ผู้กลายเป็นกำลังสำคัญของการเคลื่อนไหวในสังคมปัจจุบัน

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

2 Sep 2020

Projects

25 Aug 2020

“เราต้องให้เด็กมีอำนาจด้วย” ครูสอญอ : การสอนแบบเท่าเทียมที่ ‘ม่วน’ ทั้งครูและเด็ก

คุยกับครูสอญอ – สัญญา มัครินทร์ ครูโรงเรียนเทศบาลบ้านโนนชัย จ.ขอนแก่น ว่าด้วยวิธีการสอนแบบสร้างสรรค์ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และวัฒนธรรมอำนาจนิยมในโรงเรียน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

25 Aug 2020

Projects

25 Aug 2020

เมื่อ ‘ไดโนเสาร์’ ต้องฟัง ‘เด็กเมื่อวานซืน’ : รู้จักศาสตร์การจัดการเรียนรู้ผู้ใหญ่ กับวีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา

101 คุยกับ วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา ว่าด้วยศาสตร์การจัดการเรียนผู้ใหญ่ (Andragogy) และวิธีสื่อสารในครอบครัวท่ามกลางภาวะขัดแย้ง

ชลิดา หนูหล้า

25 Aug 2020

Projects

20 Aug 2020

จะ ‘ปีกกล้าขาแข็ง’ ได้อย่างไร เมื่อถูกการศึกษา ‘เด็ดปีก’

ชลิดา หนูหล้า เขียนถึงปัญหาเรื้อรังของการศึกษาแทบทั้งโลกและวิธีออกแบบการศึกษาที่ลด ‘การแข่งขันที่เป็นพิษ’ เพื่อสร้างการเรียนรู้ที่ดีกว่าเดิมแก่เด็กๆ

ชลิดา หนูหล้า

20 Aug 2020

Projects

18 Aug 2020

‘สาม’ หัวดีกว่าหัวเดียว: นวัตกรรมการศึกษาของรัฐ ทุน และชุมชน

101 ชวนสำรวจนวัตกรรมทางการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสำคัญอยู่ที่ความร่วมมือระหว่างรัฐ เอกชน และชุมชน เพื่อสร้างการศึกษาที่มีคุณภาพ และมอบความเสมอภาคแก่เด็กทุกคน

ชลิดา หนูหล้า

18 Aug 2020
1 2 3 6

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save