101 Policy Forum: ชวนว่าที่รัฐบาลใหม่ ตอบโจทย์ประเทศไทย
101 เปิดเวทีเสวนานโยบายสาธารณะ ชวนว่าที่รัฐบาลใหม่ร่วมสำรวจสารพัดปัญหาเร่งด่วนและปัญหาเชิงโครงสร้าง พร้อมแลกเปลี่ยน-ถกเถียง-เปิดพื้นที่ร่วมออกแบบนโยบายเปลี่ยนประเทศไทยในมิติต่างๆ

101 เปิดเวทีเสวนานโยบายสาธารณะ ชวนว่าที่รัฐบาลใหม่ร่วมสำรวจสารพัดปัญหาเร่งด่วนและปัญหาเชิงโครงสร้าง พร้อมแลกเปลี่ยน-ถกเถียง-เปิดพื้นที่ร่วมออกแบบนโยบายเปลี่ยนประเทศไทยในมิติต่างๆ
เมื่อการเรียนรู้ไม่ถูกจำกัดไว้แค่ในห้องเรียน แต่ประชาชนทุกคนต้องเข้าถึงการเรียนรู้ได้ แนวคิด ‘เมืองแห่งการเรียนรู้’ จึงเกิดขึ้นเพื่อสนองโจทย์นี้ แต่คำถามสำคัญคือวิธีแบบไหนที่จะนำไปสู่การพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ได้จริง
เปิดผลงานวิจัยที่หาคำตอบว่าการให้ทุนกับผู้ปกครองในช่วงเวลาไหนจึงจะส่งผลต่อการนำเงินไปใช้จ่ายในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาของเด็กโดยตรง
101 คุยกับ เดชรัต สุขกำเนิด ถึงการเตรียมตัวสู่โลกโฮมสคูล การทำความเข้าใจการศึกษาผ่านความเป็นไปได้อื่นๆ นอกห้องเรียน และบทบาทของครอบครัวบนพื้นที่ระหว่าง ‘โลกของผู้ใหญ่’ และ ‘โลกของเด็ก’
ชลิดา หนูหล้า เขียนถึงการศึกษาทางเลือกในประเทศไทย ว่าด้วยกฎหมายและพัฒนาการของการจัดการการศึกษาทางเลือก
นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ มองการออกมาประท้วงของนักเรียนนักศึกษาผ่านจิตวิทยาพัฒนาการ เมื่อหลังจากอายุ 7 ปี เด็กจะเริ่มสนใจสังคม และหลังอายุ 12 ปี เขาจะเริ่มตั้งคำถามกับ ‘คุณค่า’ ของชีวิตตนเอง
101 สนทนากับอาจารย์กานน คุมพ์ประพันธ์ และอาจารย์อุฬาชา เหล่าชัย ร่วมกันถอดรื้อปัญหาวัฒนธรรมอำนาจนิยม ระบบการผลิตครู ความเชื่อและมุมมองเกี่ยวกับการลงโทษด้วยความรุนแรงในระบบการศึกษาไทย
ชลิดา หนูหล้า สนทนากับ ครูกุ๊กกั๊ก-ร่มเกล้า ช้างน้อย ครูจากโรงเรียนมัธยมวัดดุสิตาราม ว่าด้วยการทำความเข้าใจวัยรุ่นโดยให้ความสำคัญกับความเป็นมนุษย์ หาคำตอบว่าครูจะสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้วัยรุ่นได้อย่างไรในสถานการณ์ที่โรงเรียนอาจสร้างบาดแผลให้พวกเขา
เมื่อ ‘ความเจ็บปวด’ ที่ถูกทำให้เงียบมานานเริ่มส่งเสียง 101 สนทนากับนักเรียนมัธยมผู้เจ็บปวด และครูทิว-ธนวรรธน์ สุวรรณปาล ครูจากเครือข่ายครูขอสอน ผู้อยู่เคียงข้างนักเรียนและผลักดันให้โรงเรียนกลายเป็นพื้นที่ปลอดภัยอย่างแท้จริง เพื่อทำความเข้าใจโลกในรั้วโรงเรียนว่าทำไมนักเรียนจึงเจ็บปวด อะไรอยู่ใต้ภูเขาน้ำแข็งแห่งความเจ็บปวดนี้ และอะไรคือยาที่จะรักษาความเจ็บปวดของนักเรียนได้
นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงสิ่งที่พ่อแม่ควรทำเมื่อลูกถูกทำร้ายร่างกายหรือล่วงละเมิด สิ่งสำคัญคือการพาลูกเข้าพบจิตแพทย์เด็กโดยเร็ว อย่ามัวรอหน่วยงานราชการให้เป็นข่าวเอิกเกริก
ชลิดา หนูหล้า เขียนถึง การลงทุนในทุนมนุษย์ภายใต้ทรัพยากรอันจำกัดว่าทำอย่างไรจึงจะคุ้มค่าและยั่งยืนที่สุด
สนทนากับครูภาคิน นิมมานนรวงศ์ ว่าด้วยการสอนวิชาประวัติศาสตร์ที่ไม่ใช่แค่การจำไปสอบ ความสำคัญของการตั้งคำถาม ประวัติศาสตร์ที่นักเรียนอยากรู้แต่ครูไม่อยากสอน ไปจนถึงห้องเรียนและหลักสูตรในฝันที่ไม่กักขังทั้งครูและนักเรียน
101 ถอดบทเรียนแนวทางจัดโครงการส่งเสริมทักษะชีวิตและระบบวัดประเมินผลจากอินเดีย เพื่อสร้างการเรียนการสอนทักษะที่สำคัญในโลกยุคใหม่แก่เด็กด้อยโอกาสของไทย
สำรวจการเรียนประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นรุ่นใหม่ ในโลกที่เปลี่ยนแปลงไปแล้ว พร้อมตอบคำถามสำคัญ จะทำอย่างไรให้วิชาประวัติศาสตร์เชื่อมโยงกับนักเรียน ห้องเรียนประวัติศาสตร์ในฝันควรเป็นอย่างไร
บทความระลึกถึง เซอร์เคนเนธ โรบินสัน (Sir Kenneth Robinson) ที่เสียชีวิตในวันที่ 21 สิงหาคม 2563 ภาคีสมาชิกราชสมาคมศิลปะแห่งลอนดอน และนักการศึกษาผู้อุทิศตนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า