fbpx

Economy

16 Apr 2018

แม่น้ำ 5 สายของเศรษฐศาสตร์การเมืองยุคใหม่

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนสำรวจ “แม่น้ำห้าสาย” ของเศรษฐศาสตร์การเมืองยุคใหม่ แวดวงเศรษฐศาสตร์การเมืองโลกกำลังเดินไปทางไหน?

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

16 Apr 2018

Economic Focus

15 Jan 2018

สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำ : อะไรที่ไม่ปรากฏในข่าว

ท่ามกลางเสียงดีใจของหน่วยงานรัฐว่า จำนวนและสัดส่วนคนจนลดลงอย่างมาก พลอย ธรรมาภิรานนท์ เจาะลึกสถานการณ์ใต้ภูเขาน้ำแข็ง เพื่อดูว่ามีประเด็นสำคัญเกี่ยวกับความจนและความเหลื่อมล้ำอะไรบ้างที่แอบซ่อนอยู่จนไม่ปรากฏในข่าว

พลอย ธรรมาภิรานนท์

15 Jan 2018

Political Economy

23 Oct 2017

Economics Rules : เมื่อเศรษฐศาสตร์รุ่มรวยกว่าภาพจำของสังคม

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน Economics Rules ของ Dani Rodrik นักเศรษฐศาสตร์การเมืองจากฮาร์วาร์ด หนังสือเล่มสำคัญที่เหมาะสำหรับปรับทัศนคตินักเศรษฐศาสตร์

สฤณี อาชวานันทกุล

23 Oct 2017

Political Economy

16 Oct 2017

สิงคโปร์โมเดล : กำแพง 4 ด้านที่เผด็จการข้ามไม่พ้น

หลายประเทศอยากเลียนแบบโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจของสิงคโปร์ แต่อะไรคือกำแพงกั้นขวางที่ทำให้โมเดลแบบสิงคโปร์ไม่สามารถถูกผลิตซ้ำในประเทศอื่นได้ง่ายๆ วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เสนอคำตอบเกี่ยวกับเงื่อนไขความสำเร็จของสิงคโปร์

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

16 Oct 2017

Political Economy

17 Sep 2017

เส้นทาง (เลี่ยง) ประชาธิปไตยของรัฐพัฒนา : เกาหลีใต้และไต้หวัน

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนถกคำถามสำคัญของเศรษฐศาสตร์การเมืองคือ ความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจนำมาซึ่่งประชาธิปไตยโดยอัตโนมัติหรือไม่ ประสบการณ์ของเกาหลีใต้และไต้หวันบ่งบอกความคดเคี้ยวของวิถีประชาธิปไตยตะวันออกอย่างไร

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Sep 2017

Political Economy

21 Aug 2017

ประเทศไทยมาถึงจุดนี้ได้อย่างไร: การตีความ 4 แบบ

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เล่าวิธีการตีความเส้นทางเศรษฐกิจการเมืองไทย 4 แนวทาง อะไรเป็นจุดแข็งที่พาเราก้าวจากประเทศยากจนมาสู่ประเทศรายได้ปานกลาง อะไรเป็นจุดตายที่ทำให้ไทยไม่ไปไกลกว่านี้ แล้วทางออกของปัญหาอยู่ตรงไหน

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

21 Aug 2017

Political Economy

17 Jul 2017

จากเสรีนิยมเก่าสู่เสรีนิยมใหม่ – รัฐไทยอยู่ตรงไหน

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ตั้งคำถามชวนคิด รัฐไทยมีความเป็นเสรีนิยมแค่ไหน ‘เก่า’ หรือ ‘ใหม่’ มากกว่ากัน?

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Jul 2017

China

5 May 2017

ยุทธศาสตร์ Jing-Jin-Ji: ภาพอนาคตประเทศจีน

รัฐบาลจีนกำลังคิดการใหญ่กับ “ยุทธศาสตร์ Jing-Jin-Ji” ซึ่งเป็นแนวคิดเชื่อมโยงมหานครปักกิ่ง และมหานครเทียนจิน เข้ากับเมืองใหญ่ 11 เมืองของมณฑลเหอเป่ย โดยรัฐบาลจีนจะลงทุนสร้างรถไฟความเร็วสูง เพื่อให้การเดินทางจากเมืองใหญ่แต่ละแห่งในมณฑลเหอเป่ย เข้าสู่ปักกิ่งหรือเทียนจินใช้เวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง

หากแผนการสำเร็จ จะทำให้เกิด “อภิมหานคร” ที่กินพื้นที่และประชากรมากที่สุดในประวัติศาสตร์โลก ด้วยพื้นที่เขตเมืองทั้งสิ้นรวม 212,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 40% ของพื้นที่ประเทศไทย โดยมีประชากรอาศัยในเขตเมืองที่เชื่อมต่อถึงกันรวม 130 ล้านคน ซึ่งมากกว่าจำนวนประชากรของประเทศไทยหนึ่งเท่าตัว

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนเล่าเบื้องหลังความคิดของยุทธศาสตร์แห่งอนาคตของรัฐบาลจีน ที่จะทำให้สำนวนเก่าในนิยายรักของจีนที่ว่า “ห่างกันหมื่นลี้ แต่เหมือนอยู่ใกล้ชิดกัน” เป็นความจริง

อาร์ม ตั้งนิรันดร

5 May 2017

People

4 Apr 2017

ชีวิตและความคิดของ “หล่ะ มยิ้น” เทคโนแครตร่วมชะตากรรมป๋วย : ภาพสะท้อนของพม่าสมัยใหม่ยุคหลังสงคราม

นักเศรษฐศาสตร์ ผู้ร่ำเรียนปริญญาเอกจาก LSE ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ลูกศิษย์ของรอบบินส์กับฮาเย็ค เทคโนแครตคนสำคัญของประเทศ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยชั้นนำ คนตรงในประเทศคด และปัญญาชนคนสำคัญผู้เลือกที่จะ ‘ตายนอกบ้าน’

เราไม่ได้เล่าเรื่อง ป๋วย อึ๊งภากรณ์ แต่ ลลิตา หาญวงษ์ แห่งภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะชวนคุณไปรู้จัก “หล่ะ มยิ้น” นักเศรษฐศาสตร์ระดับตำนานของพม่า เทคโนแครตผู้มีชะตากรรมซ้อนทับกับ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ในหลายแง่มุม

“หล่ะ มยิ้น” เป็นใคร และมีคุณูปการต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ของโลกและพม่าอย่างไร และชีวิตของเขาสะท้อนให้เราเห็นภาพพม่าสมัยใหม่ยุคหลังสงครามอย่างไร ติดตามได้ในสารคดีพิเศษชิ้นนี้

ลลิตา หาญวงษ์

4 Apr 2017

Political Economy

15 Mar 2017

ประเทศ “กำลังพัฒนา” ต้องพัฒนาไปถึงเมื่อไหร่

ที่เรียกกันว่า “ประเทศกำลังพัฒนา” หมายถึงต้องพัฒนาอะไร พัฒนาไปถึงไหน จึงจะได้ชื่อว่าเป็น “ประเทศพัฒนาแล้ว” และ “การพัฒนาเศรษฐกิจ” เป็นเรื่องเดียวกับ “การเติบโตทางเศรษฐกิจ” หรือไม่ ฮาจุน ชาง นักเศรษฐศาสตร์การเมืองแห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มีคำตอบ

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

15 Mar 2017

Political Economy

7 Mar 2017

ไทยเป็นประเทศ “โลกที่สาม” – แล้วโลกที่หนึ่งกับสองอยู่ตรงไหน

เราได้ยินคำว่า “ประเทศโลกที่สาม” กันบ่อยๆ แล้วเคยสงสัยบ้างหรือไม่ว่า “ประเทศโลกที่หนึ่ง” และ “ประเทศโลกที่สอง” อยู่ตรงไหน? ประเทศไทยจะข้ามผ่านจากประเทศโลกที่สามเป็นประเทศโลกที่หนึ่ง ต้องผ่านประเทศโลกที่สองก่อนหรือไม่?

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

7 Mar 2017
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save