ตรวจวรรคต่อวรรค ข่าว ‘ข้อเท็จจริงว่าด้วยทรู-ดีแทค’ … รื้อความเข้าใจใหม่เรื่องการควบรวม
ฉัตร คำแสง ชวนพิจารณาวาทกรรมของ ‘ข่าว’ ที่สร้างความชอบธรรมให้การควบรวมทรู-ดีแทค พร้อมสร้างความเข้าใจใหม่ถึงหลักเศรษฐศาสตร์และหลักกฎหมายว่าด้วยการควบรวมธุรกิจ


ฉัตร คำแสง ชวนพิจารณาวาทกรรมของ ‘ข่าว’ ที่สร้างความชอบธรรมให้การควบรวมทรู-ดีแทค พร้อมสร้างความเข้าใจใหม่ถึงหลักเศรษฐศาสตร์และหลักกฎหมายว่าด้วยการควบรวมธุรกิจ
กนกนัย ถาวรพานิช ชวนจับตามอง 7 ประเด็นใหญ่ในการพิจารณากรณีควบรวมกิจการระหว่างทรูกับดีแทค ซึ่งกำลังดำเนินการโดย กสทช.
101 PUB ชวนตรวจสอบ ‘เรื่องเล่า vs เรื่องจริง’ กรณีควบรวมทรู-ดีแทค ผ่านข้อมูลและกฎหมาย เมื่อ ‘ดีลใหญ่’ ครั้งนี้ส่งผลต่อผู้ใช้โทรศัพท์หลายล้านคนและอนาคตเศรษฐกิจดิจิทัลของไทย
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงอุตสาหกรรมเบียร์ไทย ที่ผู้ประกอบการคราฟต์เบียร์รายเล็กไม่อาจเติบโตได้ เพราะติดล็อกข้อกฎหมาย และกลุ่มทุนที่ผูกขาด ทั้งที่มีศักยภาพ
101 ชวนพลิกหน้าหนังสือพิมพ์ ค้นข่าวออนไลน์ เพื่อไล่เรียงดูว่า วาทกรรมสนับสนุนอภิมหาดีลควบรวมซีพี-โลตัสถูกสร้างขึ้นมาอย่างไร และสื่อกำลังปกป้องผลประโยชน์ของใคร – เจ้าสัวหรือประชาชน ส่วนตนหรือสาธารณะ
101 เปิดวงสนทนาเชิงนโยบายพูดคุยกับนักวิชาการและภาคประชาชนที่ติดตามประเด็นการควบรวมกิจการระหว่างซีพีและเทสโก้ เพื่อตอบคำถามว่าเงื่อนไขในการควบรวมที่คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้ากำหนดไว้ เพียงพอหรือไม่กับการลดความเสียหายอาจเกิดขึ้นจากการแข่งขันที่ลดลง
101 เปิดวงสนทนาเชิงนโยบายพูดคุยกับนักวิชาการและภาคประชาชนที่ติดตามประเด็นการแข่งขันทางการค้า การผูกขาด และธรรมาภิบาล วิเคราะห์และถอดบทเรียนกรณีควบรวมกิจการระหว่างซีพีกับเทสโก้ โลตัส เพื่อออกแบบนโยบายป้องกันการผูกขาดสำหรับอนาคต
หลักเกณฑ์ทางเศรษฐศาสตร์และนิติศาสตร์ที่ควรจะเป็นเรื่องการควบรวมกิจการคืออะไร | ดีลควบรวมกิจการระหว่างซีพีกับเทสโก้ โลตัสให้บทเรียนอะไรกับสังคมไทย | อนาคตของการกำกับดูแลให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรมในธุรกิจค้าส่งและค้าปลีกและรักษาประโยชน์ของสาธารณะควรเป็นอย่างไร | ก้าวต่อไปของนโยบายส่งเสริมการแข่งขัน-ป้องกันการผูกขาดไทยควรเดินไปทางไหน | ประเมินการทำงานของคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า (กขค.) อย่างไร | ฯลฯ
กนกนัย ถาวรพานิช เขียนถึงข้อกังวลที่มีต่อการควบรวมกิจการระหว่างซีพีและเทสโก้ ซึ่งสะท้อนว่ารัฐอาจไม่ได้คุ้มครองเสรีภาพทางการเมืองและเสรีภาพทางเศรษฐกิจอย่างที่พึงกระทำ
101 สนทนากับ “สฤณี อาชวานันทกุล” ว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจที่ให้ความสำคัญกับการจัดการความเหลื่อมล้ำ การต่อสู้การผูกขาด และการสร้างความยั่งยืนในยุค COVID-19
กนกนัย ถาวรพานิช เขียนถึงข้อถกเถียงว่าด้วยการควบรวมกิจการค้าปลีกในเยอรมนีกับผลกระทบต่อการแข่งขันทางการค้า เพื่อถอดบทเรียนเตรียมรับมือ ‘อภิมหาดีล’ ที่อาจเกิดขึ้นในประเทศไทย
เมื่อภูมิทัศน์สวยงามต้องแลกมาด้วยการผูกขาดและการค้าไม่เป็นธรรม สมคิด พุทธศรี ตั้งคำถามต่อกรณีกรุงเทพมหานคร โดยบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ให้สิทธิผูกขาดกับทรูในการดำเนินกิจการท่อร้อยสายสื่อสาร
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึงสภาวะของทุนนิยมโลก และทุนนิยมไทย ที่นับวัน ‘การแข่งขัน’ ยิ่งน้อยลง สวนทางกับการผูกขาดโดยทุนยักษ์ใหญ่ พร้อมถอดบทเรียนว่าสุดท้ายแล้ว ทุนนิยมไทยควรมุ่งไปทางไหนดี
ใครๆ ก็รู้สึกว่าเศรษฐกิจไทยเต็มไปด้วยการผูกขาด ประสบการณ์ถูกเอาเปรียบในฐานะผู้บริโภคก็เคยโดนเข้ากับตัวกันทั้งนั้น แต่เชื่อหรือไม่ว่า ตั้งแต่กฎหมายแข่งขันทางการค้าถูกบังคับใช้ในปี 2542 ยังไม่เคยมีผู้ประกอบธุรกิจถูกลงโทษแม้แต่รายเดียว!
เมื่อปลายเดือนมีนาคม 2560 มีการแก้ไขกฎหมายแข่งขันทางการค้าให้มีเขี้ยวเล็บในการสร้างความเป็นธรรมในการแข่งขัน และลงมือจัดการผู้ผูกขาดที่ใช้อำนาจในทางที่ผิดได้มากขึ้น
กนกนัย ถาวรพานิช อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ร่ำเรียนเขียนอ่านด้านกฎหมายแข่งขันทางการค้ามาอย่างต่อเนื่อง ชวนสำรวจประเด็นสำคัญของกฎหมายฉบับใหม่ และตอบคำถามว่า ทำอย่างไรให้การปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้าในครั้งนี้เป็นความหวังใหม่ของสังคมไทยได้อย่างแท้จริง
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า