fbpx

Life & Culture

19 Aug 2020

Deaf President Now! การปฏิวัติของคนหูหนวก

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงการชุมนุมประท้วงของนักศึกษาหูหนวก ช่วงปี 80s ที่เริ่มต้นในมหาวิทยาลัยเล็กๆ จนกลายเป็นการต่อสู้ระดับชาติ

อติเทพ ไชยสิทธิ์

19 Aug 2020

Education

14 Aug 2020

นักปฏิรูปการศึกษาควรดีใจกับม็อบนักศึกษามิใช่หรือ

นายแพทย์ประเสริฐ  ผลิตผลการพิมพ์ ชวนนักการศึกษา พ่อแม่ ครูอาจารย์ และสถาบันการศึกษา มองการประท้วงของนักเรียนนักศึกษาด้วยความเข้าใจ

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

14 Aug 2020

Spotlights

14 Aug 2020

“ถ้าคุณรักสถาบันจริง อย่ามองว่าคนที่เห็นต่างจากคุณนั้นเลวร้าย” – สุลักษณ์ ศิวรักษ์

101 สนทนากับ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ นักวิชาการอาวุโส ถึงข้อเรียกร้องเรื่องสถาบันพระมหากษัตริย์ของม็อบนักศึกษา

วจนา วรรลยางกูร

14 Aug 2020

Media

13 Aug 2020

101 One-On-One Ep.169 #ให้มันจบที่รุ่นเรา กับ จุฑาทิพย์ ศิริขันธ์

101 สนทนากับ จุฑาทิพย์ ศิริขันธ์ ประธานสหภาพนักเรียน นิสิต นักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนท.) ถึงการเมืองแห่งยุคสมัย มุมมองของคนรุ่นใหม่ต่อสังคมการเมืองไทย อันนำมาซึ่งข้อเรียกร้องที่พวกเขายืนหยัดให้ได้มา

กองบรรณาธิการ

13 Aug 2020

Interviews

10 Aug 2020

จันจิรา สมบัติพูนศิริ: ‘หัวเราะต่ออำนาจ’ ยุคสมัยแห่งการปะทะของแนวคิดเก่า-ใหม่

101 คุยกับ ดร.จันจิรา สมบัติพูนศิริ ถึงการประท้วงของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์และการเสียดสี จนถึงเรื่องทิศทางการเคลื่อนไหวเชิงประเด็น

วจนา วรรลยางกูร

10 Aug 2020

Spotlights

5 Aug 2020

ประท้วงด้วย Hashtag: การเมืองภาคประชาชนในโลกออนไลน์ กับ ชัยพงษ์ สำเนียง

ปรางชณา ภัทรนรากุล สนทนากับ ชัยพงษ์ สำเนียง จากสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการเมืองภาคประชาชนในโลกออนไลน์ การเมือง pop culture และการใช้แฮชแท็กและพื้นที่ออนไลน์ขับเคลื่อนนั้นมีพลังมากเพียงใด และจะส่งผลต่อทิศทางของประชาธิปไตยไทยในอนาคตอย่างไร

กองบรรณาธิการ

5 Aug 2020

Politics

29 Jul 2020

คำสำคัญคือความเท่าเทียม: ‘ม็อบตุ้งติ้งฯ’ กับพันธมิตร ‘สายรุ้ง’

จันจิรา พูนสมบัติศิริ ชวนมอง ‘#ม็อบไม่มุ้งมิ้งแต่ตุ้งติ้งค่ะคุณรัฐบาล’ที่ขับเคลื่อนเรียกร้องความเท่าเทียมทางเพศและประชาธิปไตยไปพร้อมกัน รวมทั้ง ‘วิธี’ การประท้วงผสานสันทนาการที่มีความเป็น ‘คาร์นิวัล’ เปิดพื้นที่ให้เห็นถึงความเป็นไปได้อันหลากหลาย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

29 Jul 2020

Thai Politics

19 May 2020

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ: หนึ่งทศวรรษความตายแปลกหน้าในประวัติศาสตร์ไร้เสียง

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ แกนนำนปช. หลังการปราบปรามการชุมนุมเสื้อแดงผ่านมา 10 ปี แต่ผู้เสียชีวิตยังเข้าไม่ถึงความยุติธรรม

วจนา วรรลยางกูร

19 May 2020

Spotlights

14 May 2020

บันทึก ‘19 พฤษภาคม 2553’ ในสายตาจรัล ดิษฐาอภิชัย

จรัล ดิษฐาอภิชัย อดีตแกนนำนปช. และอดีตกสม. เขียนบันทึก ‘ลักษณะประวัติศาสตร์’ การล้อมปราบคนเสื้อแดงเมื่อปี 2553

จรัล ดิษฐาอภิชัย

14 May 2020

Spotlights

28 Apr 2020

เส้นทางขบวนการประท้วงในโลกหลังโควิด-19

จันจิรา สมบัติพูนศิริ มองทิศทางของขบวนการประท้วงในโลกหลังโรคระบาดคลี่คลาย ท่ามกลางภาวะประชาธิปไตยที่ถดถอย แต่ภาพรวมการประท้วงทั่วโลกกลับเพิ่มขึ้น

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

28 Apr 2020

Film & Music

28 Mar 2020

The Silent Revolution หนุ่มสาว, อย่าให้เขาทุบทำลายเธอ

คอลัมน์หนังนอกรอบ วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง The Silent Revolution ภาพยนตร์ที่พูดถึงการต่อต้านด้วยความเงียบสองนาทีของนักเรียนในเยอรมนีตะวันออกช่วงสงครามเย็น

วจนา วรรลยางกูร

28 Mar 2020

Thai Politics

19 Mar 2020

รัฐธรรมนูญวิปริต การเมืองวิปลาส สังคมวิปโยค

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชี้ถึงผลของ ‘รัฐธรรมนูญวิปริต’ ที่ไม่เพียงสร้างสถานการณ์ ‘การเมืองวิปลาส’ แต่ยังนำเราทั้งหมดไปสู่ ‘สังคมวิปโยค’ ครั้งสำคัญ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

19 Mar 2020

Asia

26 Dec 2019

ขบวนการนักศึกษากับการเคลื่อนไหวในระบอบประชาธิปไตยของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงพลังของขบวนการนักศึกษาอินเดียที่สร้างความเปลี่ยนแปลงในสังคมอินเดียมาแล้วหลายครั้ง และล่าสุดกับการเดินหน้าประท้วงกฎหมายสัญชาติที่อาจสร้างปัญหาใหญ่ตามมาได้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Dec 2019

Trends

6 Dec 2019

ประชาชนลุกฮือทั่วโลก?: สาเหตุ ยุทธวิธี และอนาคตของการประท้วง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ พาไปสำรวจคลื่นการประท้วงทั่วโลกที่กำลังเกิดขึ้น โดยมองถึงสาเหตุ ยุทธวิธี และอนาคตที่คลื่นนี้จะพาไปถึง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

6 Dec 2019
1 4 5 6

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save