fbpx

Thai Politics

14 Oct 2020

คณะราษฎร 2563

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เปรียบเทียบ ‘คณะราษฎร 2563’ และ ‘คณะราษฎร 2475’ ว่ามีอุดมการณ์เดียวกันคือการปฏิรูปให้สถาบันพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Oct 2020

Thai Politics

14 Oct 2020

เปิดใจนักเจรจาม็อบ พ.ต.อ.อรรถวิทย์ สายสืบ “น้ำในกาที่กำลังเดือด ถ้าไม่เปิดออกมันจะระเบิด”

นายตำรวจนครบาลทำความเข้าใจและเตรียมรับมือคนรุ่นใหม่อย่างไร ในวันที่เสียง “ให้มันจบที่รุ่นเรา” กำลังระงมไปทั่วแผ่นดิน

ธิติ มีแต้ม

14 Oct 2020

Spotlights

7 Oct 2020

สีของทางเลือกนอกกรอบ? ย้อนคิดใคร่ครวญถึงปฏิบัติการไม่ใช้ความรุนแรงในศตวรรษที่ 21

จากเหตุการณ์สาดสีใส่เจ้าหน้าที่ตำรวจจนเกิดเป็นประเด็นวิพากษ์วิจารณ์ว่า การกระทำดังกล่าวเป็นการใช้ความรุนแรงหรือไม่ บทความของ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ชวนเราย้อนคิดใคร่ครวญ และตั้งคำถามกับปฏิบัติการไม่ใช้ความรุนแรงในศตวรรษที่ 21

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

7 Oct 2020

Global Affairs

6 Oct 2020

ว่าด้วยทวิตเตอร์และขบวนการ “ไร้หัว”: เหตุใดการประท้วงในโลกมีจำนวนมากขึ้นแต่ความสำเร็จน้อยลง?

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนมอง ขบวนการประท้วง ‘ไร้หัว’ ในยุคโซเชียลมีเดียว่าเหตุใดขบวนการประท้วงที่กระจายข่าวการรวมตัวได้อย่างรวดเร็วภายในเวลาอันสั้น เข้าถึงคนได้จำนวนมาก และโอบรับขบวนการที่แตกต่างหลากหลายได้ จึงเผชิญต่ออุปสรรคในการบรรลุเป้าหมายของขบวนการ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

6 Oct 2020

Interviews

29 Sep 2020

“แรงงานต้องออกมาสู้เพื่อชนชั้นตัวเอง” ศรีไพร นนทรีย์

101 คุยกับ ศรีไพร นนทรีย์ ถึงผลกระทบในชีวิตแรงงานที่เกิดขึ้นจากโควิดและสถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน ไปจนถึงการต่อสู้ของภาคแรงงานที่มีส่วนยึดโยงกับการเรียกร้องประชาธิปไตย

วจนา วรรลยางกูร

29 Sep 2020

Life & Culture

25 Sep 2020

Tahrir Square สนามแห่งการเรียกร้องของประชาชนอียิปต์ในช่วง Arab Spring

ชวนสำรวจ Tahrir Square กับบทบาทการเป็นพื้นที่ช่วงชิงทางอำนาจ อุดมการณ์ ระหว่างรัฐบาลและประชาชนอียิปต์ในช่วง Arab Spring

ปรัชญพล เลิศวิชา

25 Sep 2020

Social Movement

17 Sep 2020

ประท้วงอย่างไรให้เผ็ดและสร้างสรรค์? : Disobedient Objects สิ่งประดิษฐ์เพื่อการประท้วงจากทั่วโลก

โล่หนังสือ, จักรยาน DIY, ก้อนหินเป่าลม ฯลฯ Eyedropper Fill พาไปรู้จักสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์เพื่อการประท้วงทางการเมือง

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

17 Sep 2020

Democracy

15 Sep 2020

“สิทธิมนุษยชนต้องเป็นกระแสหลัก” ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล กับบทบาท ‘แอมเนสตี้’

101 สนทนากับ ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล ถึงบทบาทของแอมเนสตี้ในการผลักดันประเด็นสิทธิมนุษยชนในไทย

วจนา วรรลยางกูร

15 Sep 2020

Trends

4 Sep 2020

ประชาชนลุกฮือระลอกใหม่?: เทียบการประท้วงในไทย เบลารุส และอิสราเอล

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงเหตุปัจจัยของการประท้วงใหญ่ในเบลารุส อิสราเอล และไทย ที่คล้ายกันทั้งในมิติของการมีผู้นำอำนาจนิยม การรับมือต่อวิกฤตโควิด-19 รวมทั้งองค์ประกอบและยุทธศาสตร์ของขบวนการภาคประชาชน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

4 Sep 2020

Politics

27 Aug 2020

ม็อบนักศึกษา-สภา-ประชาธิปไตย อ่านการเมืองไทย กับ ภราดร ปริศนานันทกุล

101 คุยกับ ภราดร ปริศนานันทกุล ว่าด้วย สถานการณ์การเมืองไทย ทางออกในระบบรัฐสภา และประชาธิปไตยในการขับเคลื่อนของคนรุ่นใหม่

กองบรรณาธิการ

27 Aug 2020

Politics

24 Aug 2020

มองปรากฏการณ์ ‘จะไม่ทน’ ทวนวรรณกรรม Harry Potter

สมชัย สุวรรณบรรณ ชวนมองความหมายในนิยายแฮร์รี่ พอตเตอร์ ซึ่งถูกใช้เป็นสัญลักษณ์การเคลื่อนไหวการเมืองของคนรุ่นใหม่ในหลายที่ทั่วโลก

สมชัย สุวรรณบรรณ

24 Aug 2020

Spotlights

23 Aug 2020

จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา: สู้เพื่อวันที่สังคมรับฟัง ‘ความฝัน’ ของประชาชน

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา ถึงความหวังในการเคลื่อนไหวการเมืองบนท้องถนนในวันที่สังคมถกเถียงถึงการเปลี่ยนแปลงอย่างกว้างขวาง

วจนา วรรลยางกูร

23 Aug 2020

Media

22 Aug 2020

101 In Focus Ep. 53 : #WhatsHappeninginThailand: อ่านการเมืองไทย กับ 101

101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนอ่านการเมืองไทยผ่านผลงานสื่อใน the101.world ครอบคลุมทั้งความเห็นต่อสถานการณ์ร้อน มุมมองต่อม็อบของผู้มีประสบการณ์ในการเคลื่อนไหว และการทำความเข้าใจปรากฏการณ์จากนักวิชาการ

กองบรรณาธิการ

22 Aug 2020

World

20 Aug 2020

สัตยาเคราะห์แบบคานธี: การชุมนุมด้วยความรัก และการดื้อแพ่งต่อความอยุติธรรม

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจหลักสัตยาเคราะห์ อหิงสา และสันติวิธีแบบคานธีในการประท้วงเรียกร้องเอกราชของอินเดียจากเจ้าอาณานิคมอังกฤษ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

20 Aug 2020

Spotlights

20 Aug 2020

#WhatsHappeninginThailand: เมื่อการเมืองออนไลน์ลงสู่ท้องถนน – สุรัชนี ศรีใย

ในโมงยามแห่งการเมืองอันร้อนแรง 101 ชวน อ.ดร. สุรัชนี ศรีใย อาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนทนาว่าด้วยที่ทางของอินเทอร์เน็ตและโซเชียลมีเดียในการเมืองแห่งการต่อสู้เพื่อความเปลี่ยนแปลง รวมทั้งชวนอ่านดุลอำนาจระหว่างม็อบและรัฐบาล

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

20 Aug 2020
1 3 4 5 6

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save