ค.การเมือง EP.38 : เลือกตั้งสหรัฐฯ กับการต่างประเทศรัฐบาลแพทองธาร
ชวนวิเคราะห์โค้งสุดท้ายก่อนเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ คู่ขนานกับทิศทางการต่างประเทศไทยของรัฐบาลแพทองธาร

ชวนวิเคราะห์โค้งสุดท้ายก่อนเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ คู่ขนานกับทิศทางการต่างประเทศไทยของรัฐบาลแพทองธาร
ชวนวิเคราะห์สถานการณ์การต่างประเทศไทยในมือเศรษฐา ทวีสิน ที่ทำให้ไทยกลับมาอยู่บนแผนที่โลก (?) อีกครั้ง
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี ชวนทบทวนประเด็นปัญหาและวิเคราะห์ปัจจัยที่เอื้ออำนวยและเป็นอุปสรรคต่อการเจรจาเรื่องเขตทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชา
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงยุทธศาสตร์ป้องกันความเสี่ยงด้านความมั่นคงของไทย เมื่อมีรัฐบาลใหม่แล้วควรใช้ยุทธศาสตร์แบบใด
สุภลักษณ์เขียนถึงกิจการต่างประเทศของไทยในยุคของประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ดูเหมือนว่าจะถอยหลังลงเพราะความไม่เข้าใจโลกและรัฐบาลมีที่มาจากรัฐประหาร
ดร.อาร์ม ตั้งนิรันดร วิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศในวันที่ระเบียบโลกถูกขับเคลื่อนด้วยการแข่งขันระหว่างสองยักษ์มหาอำนาจจีน-สหรัฐอเมริกา
ในห้วงเวลาที่การต่างประเทศไทยเผชิญต่อความท้าทายครั้งสำคัญ 101 สนทนากับ ดร.อนุสนธิ์ ชินวรรโณ ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการต่างประเทศ ถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกและการปรับปรุงนโยบายการต่างประเทศไทยด้วยองค์ความรู้ ไปจนถึงเอกภาพของการต่างประเทศไทยและนโยบายการทูตแบบไม้ไผ่กลางความผันผวน
ในวาระครบรอบ 7 ปีรัฐประหาร 101 ชวนนักวิชาการมามองย้อนกลับไปในห้วงเวลาสำคัญนี้ว่า รัฐประหารเปลี่ยนเมืองไทยในเชิงนโยบายอย่างไร
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ หัวหน้าภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดคอลัมน์ ‘อ่านโลก แบบ 101’ ทุกวันศุกร์ที่ 2 ของเดือน
“ครูสอนอ่านของผมท่านสอนวิธีอ่านงานวิชาการในสาขาที่ผมเรียนว่า ดนตรีไทยเขามี 3 ชั้น การอ่านเอาเรื่องเพื่อหาและสร้างความรู้ในสาขาของเราก็ต้องฝึกอ่าน 3 ชั้นเป็นพื้นฐานเหมือนกัน …
… ครูของผมใช้ทางอ่าน 3 ชั้นอ่านอะไรๆ ออกมาได้ล้ำลึกพิสดาร แต่พื้นฐานตั้งต้นในการอ่าน 3 ชั้นนี้ความจริงแล้วเรียบง่ายมากครับ ขึ้นอยู่กับว่าใครจะพลิกแพลงกระบวนท่าไปใช้ได้ถึงขั้นไหน”
วิธีอ่าน 3 ชั้น มีเคล็ดวิชาอย่างไร เชิญฝึก ‘วิธีอ่านโลกแบบเอาเรื่อง’ กับ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ได้เลยครับ
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า