“2566 คือปีอันตรายสำหรับประเทศไทย” อ่านเกมเลือกตั้งไทยในกำมือระบอบสีกากี กับ Paul Chambers
101 ชวน Paul Chambers อ่านอนาคตการเมืองไทยในช่วงการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้ระบอบที่กองทัพไม่มีแนวโน้มปล่อยอำนาจจากมือง่ายๆ

101 ชวน Paul Chambers อ่านอนาคตการเมืองไทยในช่วงการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้ระบอบที่กองทัพไม่มีแนวโน้มปล่อยอำนาจจากมือง่ายๆ
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงประวัติศาสตร์การปฏิรูปกองทัพอินโดนีเซีย ที่เติบโตพร้อมกับประชาธิปไตยในประเทศ
ก้าวเข้าสู่ทศวรรษที่สองที่สูญหายหลังอำนาจกองทัพครอบงำสังคมไทย 101 สนทนากับ รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียนหนังสือ Infiltrating Society: The Thai Military’s Internal Security Affairs เพื่อเปิดอำนาจกองทัพในส่วนที่ยังซ่อนอยู่ในรัฐไทยอย่างแยบยล
คอลัมน์ #เลียบขั้วโลก ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึง ‘ยุทธาภิวัฒน์’ ในสแกนดิเนเวีย หรือกระบวนการเกี่ยวกับระบบการทหารและกองทัพ ซึ่งเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมือง
คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนตั้งคำถามกับชุดคำ ‘เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน’ ที่สลักอยู่บนป้ายหินอ่อนที่ปรากฏอยู่ทุกหน้าค่ายทหารว่า กองทัพกำลังปกป้องอะไรอยู่กันแน่?
อายุษ ประทีป ณ ถลาง วิจารณ์การยกกบฏบวรเดชให้เป็นฮีโร่ของกองทัพ ที่ไม่เพียงแต่เป็นการปู้ยี่ปู้ยำประวัติศาสตร์เท่านั้น แต่ยังเป็นการลากพากองทัพออกมาเผชิญหน้ากับประชาชนผู้รักประชาธิปไตยอีกด้วย
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ตอบคำถามของ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ที่ว่า “ทหารมีไว้ทำไม?” โดยยกบทเรียนจากลาตินอเมริกา
วจนา วรรลยางกูร เรียบเรียงการพูดคุยจากวงเสวนา ‘สันติภาพจังหวัดชายแดนใต้ (จชต.): โอกาสการขยายตัวของความรุนแรงและบทบาทคนนอก’ อันสะท้อนภาพรวมกระบวนการพูดคุยสันติภาพที่ดำเนินอย่างเชื่องช้าจากแง่มุมต่างๆ
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ตั้งคำถาม ทำไมคนถึงไม่พอใจทหาร โดยเฉพาะบรรดา ‘ทหารการเมือง’ ที่พยายามสืบทอดอำนาจตัวเอง ยิ่งวันเลือกตั้งใกล้เข้ามา ปรากฏการณ์นี้ก็ยิ่งลุกลามเด่นชัดขึ้นเรื่อยๆ
อิสร์กุล อุณหเกตุ วิเคราะห์เหตุปัจจัยของการทำรัฐประหาร ผ่านแว่นของนักเศรษฐศาสตร์สถาบัน ซึ่งชี้ว่ารัฐประหารสามารถเกิดขึ้นได้ ทั้งในระบอบการเมืองที่เป็น และไม่เป็นประชาธิปไตย โดยมี ‘ผลประโยชน์ของกองทัพ’ เป็นตัวแปรสำคัญ
บทสนทนาระหว่างพะเยาว์ อัคฮาด และกมนเกด อัคฮาด แม่ผู้ยืนหยัดเรียกร้องความยุติธรรมหลังความตายของลูกสาวที่เคยยืนหยัดทำหน้าที่อาสาพยาบาลในแดนสังหารจนจากไปก่อนวัยอันควร
สฤณี อาชวานันทกุล วิเคราะห์ภายใต้ร่างแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ใครจะ ‘มั่นคง’ ภาคเศรษฐกิจไหนจะ ‘มั่งคั่ง’ และสังคมไทยจะ ‘ยั่งยืน’ ได้จริงหรือไม่
จันจิรา สมบัติพูนศิริ รายงานสถานการณ์กระบวนการพูดคุยสันติภาพในสามจังหวัดภาคใต้ อะไรคือสัญญาณบวก สัญญาณลบ และพลวัตล่าสุด และทำไมกระบวนการสันติภาพจึงมิใช่เพียงธุระของคนในพื้นที่ แต่เป็นภารกิจของคนไทยทั้งสังคม
101 สนทนากับ พวงทอง ภวัครพันธ์ ถึง “ความรู้ที่ยังไม่ถูกเล่า” เกี่ยวกับงานวิจัยชิ้นใหม่ว่าด้วยการเมืองมวลชนของกองทัพ – อะไรเป็นกลไกสำคัญของทหารในการจัดตั้งมวลชน มวลชนของกองทัพเป็นใคร กองทัพจัดการและควบคุมมวลชนอย่างไร และการจัดตั้งมวลชนของกองทัพยังได้ผลแค่ไหนภายใต้ภูมิทัศน์การเมืองที่เปลี่ยนไป
พรรคทหารไม่ใช่เรื่องใหม่ในการเมืองไทย ประจักษ์ ก้องกีรติ เล่าประวัติศาสตร์ของพรรคทหารในอดีตว่าสำเร็จและล้มเหลวอย่างไร เพื่อเป็นบทเรียนชั้นดีสำหรับประชาชน นักการเมือง และ คสช.
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า