อนาคตใหม่-ม็อบคนรุ่นใหม่-ปรากฏการณ์ก้าวไกล: พลังส่งต่อจาก 2562 ถึง 2566
กนกรัตน์ เลิศชูสกุล ชวนมองพัฒนาการความสัมพันธ์และอิทธิพลที่มีต่อกันระหว่างขบวนการเคลื่อนไหวคนรุ่นใหม่และพรรคก้าวไกล จนนำมาสู่ชัยชนะในการเลือกตั้ง 2566

กนกรัตน์ เลิศชูสกุล ชวนมองพัฒนาการความสัมพันธ์และอิทธิพลที่มีต่อกันระหว่างขบวนการเคลื่อนไหวคนรุ่นใหม่และพรรคก้าวไกล จนนำมาสู่ชัยชนะในการเลือกตั้ง 2566
สังคมแบบไหนที่ความขัดแย้งระหว่างรุ่นจะเกิดขึ้น? ความขัดแย้งระหว่างรุ่นในสังคมไทยตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทิศทางเปลี่ยนไปอย่างไร? เราเรียนรู้อะไรจากความขัดแย้งระหว่างรุ่นที่เคยเกิดขึ้นในสังคมอื่นได้หรือไม่? 101 สนทนากับกนกรัตน์ เลิศชูสกุล ว่าด้วยความขัดแย้งทางการเมืองแห่งยุคสมัยและหนทางในการก้าวข้าม
สรุป Research Roundup 2022 หัวข้อ “จินตนาการใหม่ของเยาวชนไทย” โดย ศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว (คิด for คิดส์)
พบกับการนำเสนองานวิจัยและวงสนทนาความรู้ 4 วงใน 4 หัวข้อแห่งยุคสมัย โดยนักวิจัยและแขกรับเชิญหลากหลาย
ตั้งแต่วันที่ 27-30 ก.ย. 65 บ่ายโมงตรงเป็นต้นไป
ทำไมต้องทะลุแก๊ส? 101 ชวนอ่านข้อค้นพบสำคัญจากรายงาน “การก่อตัว พัฒนาการ และพลวัตการชุมนุมบริเวณแยกดินแดงช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม 2564” โดย กนกรัตน์ เลิศชูสกุล และธนาพงศ์ เกิ่งไพบูลย์ พร้อมทั้งต่อยอดจากงานวิจัยด้วยทัศนะและข้ออภิปรายเกี่ยวกับม็อบดินแดง เพื่อหาคำตอบว่าเราจะทำความเข้าใจปรากฏการณ์ ‘ทะลุแก๊ส’ อย่างไร อะไรคือความฝันและแรงผลักดันที่ทำให้พวกเขาออกมาเคลื่อนไหว ทางออกของเรื่องนี้อยู่ตรงไหน อะไรคือประเด็นที่สังคมไทยต้องมาขบคิดร่วมกัน
The101.world ร่วมกับภาควิชาปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดวงเสวนา ‘ทำไมต้องทะลุแก๊ส’ เพื่อหาคำตอบว่า เราจะทำความเข้าใจปรากฏการณ์ ‘ทะลุแก๊ส’ นี้ได้อย่างไร ใครคือผู้เข้าร่วมหลักของขบวนการ พวกเขาคิดฝันทางการเมืองอย่างไร อะไรคือแรงผลักในการเคลื่อนไหว ทำไมต้องปะทะ ขบวนการเคลื่อนไว้นี้เกี่ยวโยงและส่งผลกับขบวนการประชาธิปไตยภาพใหญ่แค่ไหน และอะไรคือทางออกที่สังคมไทยต้องขบคิดร่วมกัน
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อ่าน ‘สงครามเย็น (ใน)ระหว่าง โบว์ขาว’ โดย กนกรัตน์ เลิศชูสกุล และชวนมองถึงกำเนิดของคนรุ่นโบว์ขาว ที่จุดประกายการเปลี่ยนแปลงสังคม
101 เก็บความจากงานเสวนา “ม็อบที่ไม่ใช่ม็อบ” รายงานผลสำรวจสถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองไทยของคนรุ่นใหม่ในช่วงที่ผ่านมา โดยคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไม่ว่าจะเห็นด้วยกับการชุมนุมหรือไม่ นี่คือการเคลื่อนไหวทางการเมืองโดย ‘คนรุ่นใหม่’ ที่แหลมคมที่สุดครั้งหนึ่ง และจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมไทยต้องทำความเข้าใจและรับฟังอย่างตั้งใจ
คุยกับ ผศ.ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในห้วงเวลาที่ ‘คนรุ่นใหม่’ ที่นำโดยนิสิต นักศึกษา และนักเรียนออกมาเคลื่อนไหวอย่างทรงพลัง
ไม่ว่าจะเห็นด้วยกับการชุมนุมหรือไม่ นี่คือการเคลื่อนไหวทางการเมืองโดย ‘คนรุ่นใหม่’ ที่แหลมคมที่สุดครั้งหนึ่ง และจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมไทยต้องทำความเข้าใจและรับฟังอย่างตั้งใจ
คุยกับ ผศ.ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในห้วงเวลาที่ ‘คนรุ่นใหม่’ ที่นำโดยนิสิต นักศึกษา และนักเรียนออกมาเคลื่อนไหวอย่างทรงพลัง
:: LIVE :: “คนเดือนตุลากับการเมืองไทย” โดย กนกรัตน์ เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากทศวรรษ 2510 จนถึง 2560 ความคิด ความฝัน และบทบาททางการเมืองของ ‘คนเดือนตุลา’ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
นับแต่ 14 ตุลาคม 2516 เป็นต้นมา คนไทยต้องเผชิญความสูญเสียในเดือนตุลาครั้งแล้วครั้งเล่า เช่นเดียวกับความสูญเสียครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559 — ด้วยเหตุนี้ เดือนตุลาจึงเป็นเดือนที่ใครหลายคนไม่อยากจำ แต่ก็ไม่อาจลืม
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า