fbpx

Law

29 Jan 2018

ผลประโยชน์ทับซ้อน : จากหลักการถึงร่างกฎหมายแบบไทยๆ

จากประกาศห้ามบุคลากรทางการแพทย์ชาร์จมือถือในโรงพยาบาล สู่กรณี ‘นาฬิกาของเพื่อน’ อิสร์กุล อุณหเกตุ สำรวจหลักการเรื่อง ‘ผลประโยชน์ทับซ้อน’ และวิเคราะห์ปัญหาของร่างกฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งกำลังได้รับการพิจารณาอยู่ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

29 Jan 2018

Law

16 Aug 2017

Blaming the Victim, Blaming the Student

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เล่าถึงหนึ่งในแนวคิดทางด้านนิติศาสตร์แนวสตรีนิยม (Feminist Legal Theory) นั่นคือ การโทษเหยื่อ หรือ “blaming the victims” แล้วใช้แนวคิดดังกล่าวในการมองปัญหาการข่มขืนและปรากฏการณ์ “มหาวิทยาลัยกลายเป็นค่ายทหาร” ในสังคมไทย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

16 Aug 2017

Thai Politics

25 Jul 2017

ยุทธศาสตร์ชาติกับประชาชนที่หายไป

อิสร์กุล อุณเกตุ วิเคราะห์ร่างกฎหมายการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ ที่กำลังจะประกาศใช้ ประเด็นสำคัญคือ การมีส่วนร่วมของประชาชนและกลไกการรับผิดของรัฐบาลต่อประชาชนหายไปไหน และประเด็นสำคัญกว่าคือ กลไกการเลือกตั้งอาจมิได้มีความหมายใดๆ อีกต่อไป

อิสร์กุล อุณหเกตุ

25 Jul 2017

Thai Politics

3 Jul 2017

การอภิวัฒน์ 2475 : ทัศนะทางประวัติศาสตร์กฎหมาย

ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล มองการอภิวัฒน์ 2475 ผ่านทัศนะทางประวัติศาสตร์กฎหมาย ในฐานะปฐมบทแห่ง “ชีวิตรัฐแบบใหม่” ในระบอบการเมืองการปกครองใหม่ ภายใต้รัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษรฉบับแรกในประวัติศาสตร์กฎหมายของไทย

ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล

3 Jul 2017

Thai Politics

28 Jun 2017

เรื่องเล่าเท่าที่พบ ‘ขุนสมาหารหิตะคดี’

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดกรุเอกสารเก่าเล่าเรื่อง “ขุนสมาหารหิตะคดี” หรือ “โป-ระ สมาหาร” นักการเมืองยุคหลังการอภิวัฒน์ 2475 ที่แทบจะไม่มีใครรู้จัก

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

28 Jun 2017

Thai Politics

18 May 2017

เมื่อกฎหมายยังไม่ยอมอยู่เงียบใต้เสียงปืน : คุยกับ “ยิ่งชีพ อัชฌานนท์” ในวันที่สถานการณ์สิทธิและเสรีภาพของไทยตกต่ำที่สุด

101 สนทนากับ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ แห่งไอลอว์ ถึงสถานการณ์ด้านสิทธิเสรีภาพของไทย กระบวนการยุติธรรมไทย วงการกฎหมายไทย และวงการเอ็นจีโอไทย

ปกป้อง จันวิทย์

18 May 2017

Law

10 May 2017

“โง่-จน-เจ็บ” ในกระบวนการยุติธรรม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดเรื่องใหญ่ในระบบกฎหมายไทย เมื่อช่องว่างระหว่าง “โลกของกฎหมายในหนังสือ” กับ “ปฏิบัติการของกฎหมายในชีวิตจริง” ถ่างกว้างเป็นรูโหว่ขนาดใหญ่ จนทำให้การใช้กฎหมายของสามัญชนในโลกจริงมีอยู่น้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น และทำให้ “กระบวนการยุติธรรม” ส่งผลตรงกันข้าม กลายเป็น “กระบวนการอยุติธรรม”

อะไรคือสาเหตุของการตกเป็นเหยื่อในกระบวนการยุติธรรม?

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

10 May 2017
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save