กฎหมาย ตำรา ฎีกา: พระนิพนธ์ทางกฎหมายในองค์บิดาแห่งกฎหมายไทย
ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์ ชวนสำรวจตำรากฎหมายไทยที่เป็นพระนิพนธ์ของกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ซึ่งอาจส่งอิทธิพลต่อกลวิธีการแต่งตำรากฎหมายไทยที่นิยมในปัจจุบัน

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์ ชวนสำรวจตำรากฎหมายไทยที่เป็นพระนิพนธ์ของกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ซึ่งอาจส่งอิทธิพลต่อกลวิธีการแต่งตำรากฎหมายไทยที่นิยมในปัจจุบัน
บรรทัดฐานจากคำวินิจฉัยคดียุบพรรคก้าวไกลจะส่งผลอย่างไรต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย และในอนาคตการแก้ไขมาตรา 112 จะยังคงเป็นไปได้หรือไม่?
ชวนมองปรากฏการณ์การเมืองไทยผ่าน ‘คดียุบพรรคก้าวไกล’ ที่กำลังสะท้อนว่ากลุ่มก้อนฝั่งอนุรักษ์นิยมไม่มีฉันทามติ ซึ่งแตกต่างจากกรณียุบพรรคอนาคตใหม่ น่าจับตาดูต่อไปว่าคำตัดสินที่กำลังจะมาถึง จะนำพาการเมืองไทยไปสู่ทิศทางใด
กฎหมายนับเป็นหนึ่งในกลไกหลักของสังคม ที่ทำหน้าที่จัดระเบียบและสร้างความเป็นธรรม กระนั้น ในวันที่เรารู้สึกไม่ปลอดภัยจากสังคม การเพิ่มโทษและความรุนแรงคือคำตอบของเงื่อนปมนี้หรือไม่ และความรุนแรงหนักหน่วงที่ว่านี้จะไปด้วยกันอย่างไรในโลกสมัยใหม่ที่เน้นเรื่องมนุษยธรรม
101 สนทนากับ ดร. รณกรณ์ บุญมี ว่าด้วยปรัชญาของกฎหมายอาญา
ชวนอ่าน ‘โทษประหาร โคล้ด เกอ (Claude Gueux)’ หนังสือของวิกตอร์ อูโกอันชวนพิจารณาการดำรงอยู่ของโทษประหารชีวิตและความเป็นธรรมในสังคม
สมชาย ปรีชาศิลปกุล สรุปกรอบร่างทางความคิดของ ‘ราษฎร์ธรรมนูญ’ จากการเคลื่อนไหวของ ‘ราษฎร’ ที่มีการนำเสนออย่างหลากหลายในหลัก 6 ประการ
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้กฎหมาย โดยเฉพาะในคดีที่มีความคลุมเครือ จนต้องอาศัยปัจจัยอื่นในการตีความกฎหมาย
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง มองการแก้ปัญหาโควิดของประเทศไทยด้วย ‘พรรคราชการ’ ที่เกิดจากการออกแบบสถาบันการเมืองที่ทำให้กลไกการเมืองเป็นอัมพาต
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนทำความรู้จัก ‘เคอร์ฟิว’ ที่ไทยเพิ่งประกาศใช้เพื่อรับมือ COVID-19
จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงการทำงานของ ‘โค้ด’ ในระบบออนไลน์ ที่มีอำนาจมหาศาลในการควบคุมความเป็นไปต่างๆ และอาจไปถึงจุดที่เป็นกฎหมายซึ่งมนุษย์เข้าไม่ถึงภาษาและกลไกนั้น
สรุปเสวนาวิชาการ ‘ดิจิทัลศึกษากับอนาคตสังคมไทย’ เทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลกระทบต่อประเด็นการศึกษาของ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และมานุษยวิทยา อย่างไร
ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ คุยกับ วัลลภ นาคบัว ผู้อำนวยการสำนักงานกิจการยุติธรรม ว่าด้วยบทบาทเชิงวิชาการ และการปรับตัวของกระบวนการยุติธรรมไทยในวันที่โลกหมุนไปข้างหน้า
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงปัญหาของการมีกฎหมายอาญาที่ไม่จำเป็น พร้อมชี้ให้เห็นวิธีแก้ปัญหาอันลักลั่น ด้วยการออกกฎหมายที่ไม่จำเป็นเพิ่มมาอีกหนึ่งฉบับ
‘หัวนุ่ม’ ตอนใหม่ ว่าด้วยการร่างกฎหมายเมื่อหลายๆๆ หมื่นปีที่แล้ว
:: LIVE :: “Digital Culture and Law” – โลกดิจิทัลสร้างการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ในมิติวัฒนธรรมและกฎหมายอย่างไรบ้าง สนทนากับ ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สำรวจประเด็นใหม่ในมิติวัฒนธรรมและกฎหมาย จากความเป็นส่วนตัว ความปลอดภัยไซเบอร์ ถึงการกำกับดูแลเนื้อหา และเสรีภาพในการแสดงออก ผ่านกรณีศึกษาที่น่าสนใจ
วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม 2561 เวลาสองทุ่มตรง ทาง The101.world ดำเนินรายการโดย ยิ่งชีพ อัชฌานนท์
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า