‘คนล้นคุก’: การจองจำในจารีตยุติธรรมแบบไทยๆ
101 PUB ชวนผู้อ่านร่วมสำรวจปัญหาคนล้นคุกและการใช้โทษจำคุกมากเกินความจำเป็น พร้อมวิเคราะห์ว่าทำไมการปฏิรูปที่ผ่านมาถึงไม่ประสบผลสำเร็จ

101 PUB ชวนผู้อ่านร่วมสำรวจปัญหาคนล้นคุกและการใช้โทษจำคุกมากเกินความจำเป็น พร้อมวิเคราะห์ว่าทำไมการปฏิรูปที่ผ่านมาถึงไม่ประสบผลสำเร็จ
101 PUB ขอชวนทุกท่านมาทำความเข้าใจสภาพปัญหาของโทษอาญาเฟ้อและค้นหาสาเหตุว่าทำไมการปฏิรูปที่ผ่านถึงไม่สามารถแก้ปัญหานี้ได้
ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของกฎหมายหมิ่นประมาทไทย และยกตัวอย่างกฎหมายหมิ่นประมาทเยอรมันเป็นแนวทางหนึ่งในการปรับปรุงกฎหมายต่อไป
ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ วิเคราะห์กรณีการซื้อผลงานทางวิชาการว่าอาจไม่สามารถเอาผิดตามกฎหมายอาญาได้ เนื่องจากช่องโหว่ของกฎหมายไทย
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนมองวิธีคิดเรื่องหลักการขังหรือปล่อยผู้ต้องหาระหว่างถูกดำเนินคดีอาญา การปฏิเสธไม่ให้ประกันตัวกระทบสิทธิที่จะถูกสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์หรือไม่
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนตั้งคำถามถึงการไม่ให้ประกันตัวของผู้ต้องหาคดีการเมือง โดยที่ยังไม่มีการตัดสินว่าเป็นความผิด รวมถึงการให้ประกันตัวแบบมีเงื่อนไขคือการเปลี่ยนสภาพจากการติดคุกในเรือนจำมาสู่การติดคุกในบ้าน
101 สนทนากับ หฤษฎ์ มหาทน นักเขียนไลต์โนเวลและเจ้าของร้านราเมงที่โดนดำเนินคดี 112 ในปี 2016 แม้ล่าสุดศาลเพิ่งวินิจฉัยยกฟ้องกรณีดังกล่าว หากแต่ความดำมืดของหกปีที่โดนคดี และการโดนขังฟรี 70 วัน ดูจะยังทิ้งบาดแผลไว้ตรงไหนสักแห่ง
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนมองปัญหาในกระบวนการยุติธรรมผ่านกรณีที่นายตำรวจสองพ่อลูกบวชอุทิศส่วนกุศลแก่แพทย์หญิงที่ถูกชนจนเสียชีวิต
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงคำวินิจฉัยของตุลาการรัฐธรรมนูญฝรั่งเศสในช่วงโควิดว่า การดำเนินคดีอาญามีเรื่องใดที่ผ่อนปรนได้ในสถานการณ์โรคระบาด และเรื่องใดที่ผ่อนปรนไม่ได้แม้ในสถานการณ์โรคระบาด
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึง สิทธิที่จะไม่ให้การปรักปรำตนเองหรือไม่ถูกบังคับให้สารภาพ อันเป็นสิทธิมนุษยชนสากลและมีการรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงการห้ามออกกฎหมายย้อนหลังไปลงโทษการกระทำในอดีต อันเป็นหลักสิทธิมนุษยชนและหลักพื้นฐานกฎหมายอาญา
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนมองประเด็นที่น่าสนใจในกฎหมายฉบับใหม่ที่รับรอง ‘การทำแท้งตามคำขอของผู้หญิง’ ขึ้นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ประเทศไทย
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงการการแก้ไขความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 27) พ.ศ. 2562 ตั้งแต่การยอมความในคดีข่มขืน การคุ้มครองเด็ก และการเพิ่มโทษคนที่แสวงหาผลประโยชน์จากโสเภณี
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงปัญหาของการมีกฎหมายอาญาที่ไม่จำเป็น พร้อมชี้ให้เห็นวิธีแก้ปัญหาอันลักลั่น ด้วยการออกกฎหมายที่ไม่จำเป็นเพิ่มมาอีกหนึ่งฉบับ
ประมวลกฎหมายอาญาของไทยบังคับใช้มาตั้งแต่ปี 2499 ตั้งแต่สมัยพี่แดง ไบเล่ย์ และพี่ปุ๊ ระเบิดขวด ยังครองเมือง โดยแทบจะไม่มีการแก้ไขบทลงโทษตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไปเลย
ท่านทราบหรือไม่ว่า มูลค่าที่แท้จริงของค่าปรับจะค่อยๆ ลดลงเมื่อเวลาผ่านไป จาก 2,000 บาทเมื่อปี 2499 จะเหลือเพียง 200 บาทในปัจจุบันเท่านั้น!
เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น? แล้วเราจะทำอย่างไรให้โทษปรับยังทรงพลังได้คล้ายเดิมเมื่อเวลาผ่านไป?
อิสร์กุล อุณหเกตุ นักวิจัยด้านนิติเศรษฐศาสตร์ (ศาสตร์ที่เอากฎหมายและเศรษฐศาสตร์มาแต่งงานกัน!) มีข้อเสนอเรื่อง “ปรับ-ค่า-ปรับ” ให้ชวนคิดกันต่อในรายงานพิเศษชิ้นนี้
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า