
ถ้าเรานั่งไทม์แมชชีนย้อนเว
ภาพพ่อแม่ลูกจูงมือกัน มีลูกอยู่ตรงกลางเป็นกล่องด
แต่ในความจริง ไม่ใช่เด็กทุกคนที่มีพ่อแม่
ครอบครัวถูกนับให้เป็นสถาบั
พ่อแม่ลูกที่อยู่กันในบ้านห
แน่นอน ไม่ใช่ทุกครอบครัวที่เป็นแบ
การมองภาพครอบครัวด้วยสายตา
คำว่า ‘ครอบ’ มีความหมายว่า ‘เอาของที่มีลักษณะคลุ่มๆ คล้ายขันควํ่าปิดงำไว้’ เราอยากชวนผู้อ่านยกเอาสิ่งที่
101 ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ชวนคุณร่วมค้นหาว่าอะไรคือ ‘This is My Family’ และนโยบายแบบไหนที่จะทำให้ทุกคนมีความสุขได้ไปด้วยกัน
ความหมายใหม่ – ความหลากหลายของ ‘ครอบครัวไทย’
“ครอบครัวไม่ใช่สถาบัน แต่คือชุดความสัมพันธ์” : ตัดแว่นใหม่มองครอบครัวไทยในยุคไร้นิยาม กับณัฐยา บุญภักดี
101 คุยกับ ผึ้ง-ณัฐยา บุญภักดี ผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว สสส. ว่าด้วย ‘สุขภาวะครอบครัว’ หนึ่งในประเด็นที่ สสส. ขับเคลื่อนยาวนานเข้าสู่ปีที่ 19
“ถ้าโลกวุ่นวายแบบนี้แล้วจะมีลูกไปทำไม?” : มองครอบครัวรุ่นใหม่ เมื่อ ‘ลูก’ ไม่ใช่คำตอบของคน Gen Y
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เขียนถึงการสร้างครอบครัวของคน Gen Y ที่การมี ‘ลูก’ อาจจะไม่ใช่คำตอบอีกต่อไป
อย่าให้ ‘เจนฯ’ เป็นเส้นคั่นระหว่างเรา : จุดอ่อนของการมองโลกแบบเจเนอเรชัน
ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์ ชวนตั้งคำถามเรื่องเจนฯ พร้อมสำรวจเรื่องราวความเป็นมา และจุดอ่อนของการมองโลกแบบเจเนอเรชัน
ถ้าไม่ได้อยู่พร้อมหน้าแบบพ่อแม่ลูกล่ะ เราจะยังเรียกว่าครอบครัวอยู่ไหม
รู้จักครอบครัวหลากหลายรูปแบบ เช่น ครัวเรือนคนเดียว, ครอบครัว LGBT, ครอบครัวแหว่งกลาง และบ้านพักคนชรา ที่มีชุดความสัมพันธ์แตกต่างกันไป ตามที่แต่ละคนออกแบบ
นโยบายของรัฐกับครอบครัว
101 policy forum : คิดใหม่ นโยบายครอบครัวไทยยุคไร้นิยาม
สรุปความจาก 101 Policy Forum # 3 : คิดใหม่ นโยบายครอบครัวไทยยุคไร้นิยาม ชวนนักการเมืองหลากพรรคแลกเปลี่ยนถกเถียงเรื่องนโยบายเพื่อตอบโจทย์ครอบครัวไทยยุคใหม่
‘family we choose’ : ครอบครัวในสายตา ‘เรา’ และสายตา ‘รัฐ’ กับ ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์
101 สนทนากับ รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยนิยามครอบครัวในสังคมไทย ทั้งต้นตอของนิยามที่จำกัดรูปแบบชีวิต การออกแบบนโยบายของรัฐ ผลกระทบของนิยามครอบครัวที่มีต่อผู้คน ไปจนถึงมิติเรื่องเพศที่แฝงอยู่ในทุกแง่มุมครอบครัว
ศศิวิมล วรุณศิริ ปวีณวัฒน์: เมื่อการมีลูกฉุดรั้งการงาน ถึงเวลาสวัสดิการเพื่อครอบครัว
วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ ศศิวิมล วรุณศิริ ปวีณวัฒน์ ถึงปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจมีลูกของแรงงานไทย
ครอบครัวไทยในยุค COVID-19
กงล้อกำลังหมุนไป : “ทรอม่า-ฆ่าตัวตาย-ครอบครัวสลาย” ในยุค COVID-19
สำรวจปัญหาอันเปราะบางในสังคมไทย เมื่อยุคสมัย COVID-19 กำลังเร่งอัตราความเหลื่อมล้ำ นำไปสู่การใช้ความรุนแรงในครอบครัว
ร่องรอยวิกฤตโควิด ในชีวิตคนต่างเจเนอเรชัน : ภูเบศร์ สมุทรจักร
สรุปความจากรายการ 101 One-On-One Ep.127 : ร่องรอยวิกฤตโควิดในชีวิตคนต่างเจเนอเรชัน – ภูเบศร์ สมุทรจักร ว่าด้วยผลกระทบของโควิดต่อเจเนอเรชันและครอบครัว
ตรวจ (เทรนด์) สุขภาพคนไทยในยุค COVID-19 กับ สุปรีดา อดุลยานนท์
101 สนทนากับ ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เกี่ยวกับความท้าทายด้านสุขภาพของคนไทยในวิกฤต ไปจนถึงเรื่องใหญ่อย่างปัญหาความเหลื่อมล้ำ และบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. ในยุคโควิด-19
มัลติมีเดีย
วิดีโอคลิป
SIDE B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า “ครอบครัวไทย ครอบครัวอบอุ่น”
โควิด-19 เข้ามาทำให้เศรษฐกิจทรุด คนตกงาน มีคนฆ่าตัวตายรายวัน คำถามคือความเครียดจากผลพวงเหล่านี้จะส่งผลอะไรในอนาคต
101 Policy Forum #3 : คิดใหม่ นโยบายครอบครัวไทยยุคไร้นิยาม
101 Policy Forum ครั้งที่ 3 ชวนแลกเปลี่ยนถกเถียงเรื่องนโยบายเกี่ยวกับครอบครัวไทยยุคใหม่
แต่ละพรรคตีโจทย์เรื่องครอบครัวไทยยุคใหม่อย่างไร และมีคำตอบเรื่องการขับเคลื่อนนโยบายเพื่อรองรับคนทุกกลุ่มได้อย่างไร : ครอบครัวหลัง COVID-19 | ครอบครัวเปราะบาง | ครอบครัว LGBT | ครอบครัวเกิดน้อย-อายุยืน | ครอบครัวซึมเศร้า | ฯลฯ
พอดคาสต์
101 In Focus Ep.39 : This is my Family
101 in Focus สัปดาห์นี้ ขอชวนคุณผู้ฟังไปมองภาพครอบครัวด้วยสายตาแบบใหม่ จากผลงานใน Spotlight ‘This is My Family – ครอบครัวไทยยุคไร้นิยาม’
101 One-On-One Ep.129 : COVID-19 กับ new normal ด้านสุขภาพของคนไทย
101 สนทนากับ ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เกี่ยวกับโจทย์สุขภาพที่เปลี่ยนไปในโลกยุคใหม่
101 In Focus Ep.36 : มองครอบครัวรุ่นใหม่ เมื่อ ‘ลูก’ ไม่ใช่คำตอบของคน Gen Y
เพราะอะไร Gen Y ถึงไม่อยากมีลูก การไม่อยากมีลูกจะส่งผลต่อเศรษฐกิจและสังคมอย่างไร และเราแก้ไขอะไรได้ไหม 101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนหาคำตอบ
101 One-On-One Ep.127 : “ร่องรอยวิกฤตโควิด ในชีวิตคนต่างเจเนอเรชัน” – ภูเบศร์ สมุทรจักร
101 คุยกับ ภูเบศร์ สมุทรจักร กลุ่มสาขาวิชาประชากรศาสตร์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ทำวิจัยเกี่ยวกับเรื่องครอบครัวและเจเนอเรชัน
อัลบั้มภาพ
เปิดบ้านครอบครัวไทยยุคใหม่: ความหลากหลายที่ไร้กรอบจำกัด
101 ฉายภาพใหญ่ เผยสถานการณ์ครอบครัวไทยยุคไร้นิยามผ่านอินโฟกราฟฟิก 9 ชุด