“ทำไมไม่ได้เกรด 4”
“ปัญหาแค่นี้เอง ทำไมต้องคิดมาก”
คำพูดจากพ่อแม่เหล่านี้อาจฟังดูธรรมดาสำหรับครอบครัวไทย แต่กลับสร้างบาดแผลในใจที่ฝังลึกให้กับเด็ก
แม้ในปัจจุบันสังคมจะเริ่มตระหนักถึงความรุนแรงในครอบครัวมากขึ้น โดยเฉพาะความรุนแรงทางร่างกาย แต่ความรุนแรงทางใจกลับเป็นสิ่งที่หลายครั้งถูกมองข้าม ไม่เพียงแต่คำดุด่า แต่รวมถึงคำพูดกดดันที่ฉาบหน้าด้วยเหตุผลจากความหวังดี ด้วยเหตุนี้ เด็กไทยจำนวนมากจึงยังต้องทนทุกข์กับความรู้สึกว่าตัวเองยังดีไม่พอ
101 ชวนทบทวนเบื้องหลังของลักษณะความสัมพันธ์ในครอบครัว จากทั้งความเชื่อ ค่านิยม โครงสร้างสังคม และนโยบายรัฐ ที่ล้วนมีส่วนในการสร้างบาดแผลจากรุ่นสู่รุ่น พร้อมตั้งภาพฝันถึงเป้าหมาย ‘ความเท่าเทียมในความสัมพันธ์ระหว่างคนในครอบครัว’
Related Posts
สมรภูมิบนท้องถนนนี่คือความรู้สึกของคนไทยทุกคน เมื่อคนที่รักต้องออกไปใช้ถนน ช่วยกันแชร์สักนิด ถ้าคุณอยากให้ถนนไทยปลอดภัยกว่านี้
เศรษฐกิจสีน้ำเงิน101 ขออาสาพานักแสวงหาเงิน ทั้งหลายรู้จักกับเศรษฐกิจสีน้ำเงินที่ว่า มันคืออะไร? มาจากไหน? มันสร้างโอกาสอะไร? และมีวิธีกินแบบไหน? ที่ทำให้เราสามารถอร่อยไปกับหมูกระทะหม้อนี้ไปอีกนานๆ
ครูไทยท้อ ขอลาโลกพบกับคลิปที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากเรื่องจริงของชีวิตครูไทยที่ถอดใจอัดคลิปขอลาโลก ขอให้เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นเหตุการณ์สุดท้าย!
9 เรื่องที่ควรรู้ก่อนคลอดถ้าคุณคิดจะมีลูก คุณต้องดูคลิปนี้ ถ้าลูกคุณกำลังจะคลอด คุณต้องยิ่งดูคลิปนี้ เพราะการเลือกวิธีการคลอดสามารถกำหนดคุณภาพชีวิตในอนาคตของแม่และลูกได้
ทำไมคนไทยขี้โกง ?คุณว่า…คุณเป็นคนดีอย่างที่คิดจริงหรือ? คุณเลือกที่จะขโมยของเพื่อช่วยแม่ที่กำลังป่วยอยู่หรือไม่ ? คุณจะเลือกจ่ายเงินช่วยลูกให้พ้นความผิดหรือเปล่า ? ความดีกับคนดีแตกต่างกันยังไง ? ทำไมคนไทยมีสถิติบริจาคเงินสูงเป็นอันดับ 5 ของโลก แต่กลับไม่ชอบเป็นอาสาสมัคร ? ทำไมสถิติการจ่ายค่าแป๊ะเจี๊ยะในประเทศไทยสูงขึ้น 16 เท่า…
The Trap ฝ่าวิกฤตกับดักรายได้ปานกลางประเทศไทยติดกับดักรายได้ปานกลางมากว่า 30 ปีแล้ว และยังไม่มีแนวโน้มจะหลุดออกจากกับดักนี้ได้ง่ายๆ ถ้าพวกเรา ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน ไม่ทำอะไร อนาคตเราจะลำบากกว่าเดิมแน่ๆ ประเทศจะย่ำอยู่กับที่ และไม่ก้าวหน้าไปไหน อีกหลายสิบปี ร่วมหาคำตอบและวางแผนฝ่าวิกฤตตัวประกันที่ชี้เป็นชี้ตายอนาคตของประเทศ กับดักรายได้ปานกลางคืออะไร?…
ความเท่าเทียมในความสัมพันธ์ ครอบครัวรุนแรงทางจิตใจ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ครอบครัวไทย ความรุนแรงในครอบครัว สังคมไทย