fbpx
เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง (Photo essay)

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง (Photo essay)

เมธิชัย เตียวนะ ภาพ

ประเทศไทยกำลังจะมีรัฐบาลใหม่เร็วๆ นี้ หลัง คสช. ยึดอำนาจมานานกว่า 5 ปี และจัดให้มีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562

หนึ่งในแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 คือ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้ทำรัฐประหารเข้ามาเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ที่ตัดสินใจรับเป็นแคนดิเดตนายกฯ กับพรรคพลังประชารัฐ ที่เพิ่งถูกตั้งขึ้นโดยรัฐมนตรีบางส่วนในสมัย คสช. เช่นกัน 

หลายฝ่ายเชื่อว่าการครองอำนาจอย่างเบ็ดเสร็จของ คสช. ทำให้การวางรากฐานกฎกติกาสังคมไทยย่อมเป็นไปตามใจผู้มีอำนาจ ทั้งรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ไปจนถึงองค์กรอิสระ ฯลฯ ที่จะทำให้การสืบทอดอำนาจราบลื่นยิ่งขึ้น   

ใช่หรือไม่ว่าธรรมชาติของทหารคือการบังคับบัญชา-ซ้ายหันขวาหัน แต่เมื่อทหารจะเข้าสู่อำนาจปกครองบ้านเมือง ซึ่งที่ผ่านมาถนัดใช้แต่คำสั่งและอาวุธปกครอง จึงต้องเล่นตามกติกา (ที่ออกแบบใหม่) เพื่อบอกชาวโลกให้เห็นว่าทหารได้เข้าสู่อำนาจมาตามครรลองประชาธิปไตย !?!

ระหว่างที่รอ กกต. แถลงผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการ ซึ่งเต็มไปดัวยข้อกังขาจากสังคมว่าจัดการเลือกตั้งได้โปร่งใสหรือไม่ ตั้งแต่การไม่นับคะแนนอย่างต่อเนื่อง หรือการขานคะแนนบัตรเสียให้กลายเป็นบัตรดีของบางพรรคการเมือง กระทั่งว่าบัตรเลือกตั้งมีมากกว่าจำนวนผู้ใช้สิทธิ์ ฯลฯ

101 ชวนดูภาพบรรยากาศการออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งของทหารและประชาชนในวันที่ 24 มีนาฯ และชวนครุ่นคิดว่าสังคมไทยจะมีพล.อ.ประยุทธ์ เป็นนายกฯ ต่อไปหรือไม่ ด้วยเหตุอะไร

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง ประยุทธ์

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง

ประยุทธ์ เลือกตั้ง

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง ประยุทธ์ เดิน

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง ทหาร

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง ป้า

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง ลูกชิ้น

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง

เมื่อทหารออกไปเลือกตั้ง

อ่านเรื่องการเลือกตั้งในกรุงเทพฯ ต่อที่ www.the101.world/bangkok-election-2019/

MOST READ

Politics

31 Jul 2018

30 ปี การสิ้นสุดของระบอบเปรมาธิปไตย (1) : ความเป็นมา อภิมหาเรื่องเล่า และนักการเมืองชื่อเปรม

ธนาพล อิ๋วสกุล ย้อนสำรวจระบอบเปรมาธิปไตยและปัจจัยสำคัญเบื้องหลัง รวมทั้งถอดรื้ออภิมหาเรื่องเล่าของนายกฯ เปรม เพื่อรู้จัก “นักการเมืองชื่อเปรม” ให้มากขึ้น

ธนาพล อิ๋วสกุล

31 Jul 2018

Politics

12 Sep 2018

ความจริง ความเชื่อ และความเจ็บป่วยของ ‘สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล’

อายุษ ประทีป ณ ถลาง เขียนถึงชะตากรรมของ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ในฐานะนักวิชาการผู้ยืนหยัดในอุดมการณ์มาร่วม 40 ปี แต่กลับต้องกลายเป็นผู้ลี้ภัย (และล้มป่วย) อยู่ในต่างแดน

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

12 Sep 2018

Politics

14 Jul 2020

การเกิดอีกครั้งของจอมพล ป. พิบูลสงคราม

ธนาพล อิ๋วสกุล เขียนถึงการเปลี่ยนความหมายของจอมพล ป. พิบูลสงครามจาก ‘ผู้ร้ายในประวัติศาตร์การเมืองไทย’ มาเป็นนายทหารฝ่ายคณะราษฎรที่สามารถกำราบฝ่ายปฏิปักษ์ปฏิวัติอย่างราบคาบ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความแหลมคมการเมืองร่วมสมัยของไทย

ธนาพล อิ๋วสกุล

14 Jul 2020

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save