คำกล่าวที่ว่า “ผู้ชนะย่อมเป็นผู้เขียนประวัติศาสตร์” อาจใช้ไม่ได้ในยุคปัจจุบันที่ข้อมูลหลากหลายและเข้าถึงได้ง่าย ผู้คนธรรมดาสามารถมีส่วนร่วมในการเขียนประวัติศาสตร์ได้ แม้แต่หน้าเฟซบุ๊กก็เป็นบันทึกประวัติศาสตร์หน้าหนึ่ง สิ่งเหล่านี้คือการเขียนประวัติศาสตร์คู่ขนานไปกับประวัติศาสตร์ของรัฐ ทำให้ประวัติศาสตร์ไม่อาจผูกขาดจากรัฐเหมือนยุคก่อน
“เวลารัฐเขียนประวัติศาสตร์ก็จะเขียนในมุมของผู้มีอำนาจ ถ้าคุณไปอ่านหนังสือเรียนมัธยม อาจจะมีการพูดถึงเหตุการณ์รัฐประหารปี 2549 การสลายการชุมนุมคนเสื้อแดง เป็นบรรทัดย่อๆแต่เมื่อคุณมาที่นี่ คุณจะเห็นมันในภาพใหญ่ เราทำหน้าที่เหมือนการ zoom in เราแค่มาบอกว่าข้อมูลของคุณก็เป็นข้อเท็จจริงชุดหนึ่ง ของเราก็มีข้อมูลอีกชุดหนึ่ง”
101 สัมภาษณ์ อานนท์ ชวาลาวัณย์ ผู้ก่อตั้ง พิพิธภัณฑ์สามัญชน Museum of Popular History ที่เริ่มจากการค่อยๆ เก็บสิ่งของจากการเคลื่อนไหวทางการเมืองตั้งแต่ปี 2561 และเก็บย้อนหลังเพื่อประกอบร่างประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองของภาคประชาชน เริ่มต้นตั้งแต่ปฏิวัติ 2475 เหตุการณ์เดือนตุลา พฤษภา 35 เสื้อเหลือง เสื้อแดง กปปส. มาจนถึงการชุมนุมของกลุ่มคนรุ่นใหม่ในยุคปัจจุบัน
Related Posts
ในวันที่การเรียนออนไลน์ไม่ใช่ทางออกของการศึกษาไทย101 ชวนฟังเสียงของ ‘มิน-ลภนพัฒน์ หวังไพสิฐ’ ผู้ก่อตั้งกลุ่ม ‘นักเรียนเลว’ ผู้ริเริ่มแคมเปญประท้วงหยุดเรียนออนไลน์ และชวนฟังเสียง ‘ครูทิว-ธนวรรธน์ สุวรรณปาล’ ว่าคิดเห็นอย่างไรกับการประท้วงออนไลน์ของนักเรียนที่เกิดขึ้น
สาดสีรุ้งให้กระทรวงศึกษาฯ18 มิถุนายน 2564 กลุ่ม #นักเรียนเลว รวมตัวจัดกิจกรรมม็อบออนไลน์ภายใต้ชื่อ #กูจะเป็นเพศอะไรก็เรื่องของกู บริเวณหน้ากระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเรียกร้องให้ยุติการกดขี่ภายในโรงเรียน เกิดความเท่าเทียมและยอมรับความหลากหลายทางเพศ
ทะลุฟ้าเยือนทำเนียบ16 สิงหาคม กลุ่มทะลุฟ้าประกาศรวมตัวกันที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิเพื่อเคลื่อนขบวนไปยังบ้านพัก พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรมทหารราบที่ 1 ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนเส้นทางเป็นเดินขบวนไปยังทำเนียบรัฐบาล โดยกลุ่มทะลุฟ้าย้ำชัดถึงแนวทางการต่อสู้แบบสันติวิธี และข้อเรียกร้องคือให้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
เปิดกล่องฟ้าสาง ความทรงจำเดือนตุลาฯ101 เปิดความทรงจำใน ‘กล่องฟ้าสาง’ รวมภาพถ่าย จดหมาย เนื้อเพลง และเรื่องราวการเคลื่อนไหวของคนเดือนตุลาฯ ในช่วงปี 2516-2519 ซึ่งเป็นช่วงที่การเคลื่อนไหวของนักศึกษา แรงงาน และกรรมกรรุ่งโรจน์ที่สุด จัดทำโดยคณะทำงานโปรเจ็กต์ ‘5 ตุลาฯ…
อานุภาพแห่งกล้องวงจรปิดจากการวิสามัญฆาตกรรมนายชัยภูมิ ป่าแส ถึงการขุดเปลี่ยนหมุดคณะราษฎรเป็นหมุดหน้าใส กล้องวงจรปิด หรือ cctv กลายเป็นอุปกรณ์ที่ได้รับการกล่าวขวัญอย่างแพร่หลายที่สุด จากอุปกรณ์เพื่อการค้นหาความจริงกลายเป็นอุปกรณ์เพื่อปกปิดความจริง จากเครื่องมือวิทยาศาสตร์กลายเป็นเครื่องมือทางการเมือง วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงการเมืองเรื่องกล้องวงจรปิด
ผมไม่มีเพื่อนเป็นทหารเกณฑ์สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตั้งคำถามถึงระบบการเกณฑ์ทหารที่เปิดช่องให้ชนชั้นกลางและชนชั้นสูงได้รับการยกเว้นผ่านการเรียนรด. ขณะที่ทหารเกณฑ์ถูกบังคับใช้แรงงานกึ่งบังคับภายใต้ข้ออ้างว่าเพื่อรับใช้อำนาจรัฐ
การเมืองภาคประชาชน พิพิธภัณฑ์สามัญชน ประวัติศาสตร์การเมือง การเคลื่อนไหวทางการเมือง
เรียนจบนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สนใจวิถีชีวิตผู้คน ดนตรี สิทธิมนุษยชน และความเหลื่อมล้ำ ชอบเล่าเรื่องผ่านงานภาพถ่ายและวิดีโอ