
เรื่องกินเป็นเรื่องใหญ่ เพราะนอกจาก “สบายดีไหม” หรือ “ไปไหนมา” เรามักทักทายกันสั้นๆ ว่า “กินไรยัง” มากไปกว่านั้น หากจะสำรวจนิสัยใจคอกันและกันอาหารการกินก็ให้ภาพสะท้อนไ
ว่ากันว่า หากอยากรู้จักกันให้ลึกกว่า
ครบ 10 ปี เหตุการณ์สลายการชุมนุม เม.ย.- พ.ค. ปี 2553 จะว่าไป ความยุติธรรมก็คงถูกฟรีซไว้
ถ้าหากสิทธิเสรีภาพและความเ
101 ชวนรำลึกประวัติศาสตร์บาดแผ
101 In Focus Ep.40 : Defrost the Memories
10 ปีความรุนแรงและความสูญเสียในเดือน เม.ย.-พ.ค. 2553 เป็นความทรงจำที่เต็มไปด้วยบาดแผล เราจะมองย้อนอดีตเพื่อเผชิญความจริงอย่างไร ตั้งแต่มุมของผู้สูญเสียครอบครัวที่ออกมาทวงถามความยุติธรรม แกนนำ นปช. ที่อาจต้องเผชิญวาทกรรมเผาบ้านเผาเมืองไปทั้งชีวิต ไปจนถึงความเข้าใจในการปกป้องสิทธิมนุษยชนและป้องกันวัฒนธรรมลอยนวลพ้นผิด กระทั่งมุมมองเรื่องภาวะตาสว่างกับการใช้ภาษาในการต่อต้าน และการตีโจทย์ใหม่ในการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย 101 in Focus สัปดาห์นี้ ชวนมารำลึกความทรงจำจากเหตุสลายชุมนุม เม.ย. – พ.ค. ปี 53 จากผลงานใน Spotlight: Defrost the Memories ดำเนินรายการโดย วิลาวัณย์ บุญเกื้อกุลวงษ์ และธิติ มีแต้ม ………. อ่านเพิ่มเติม Defrost the Memories
บทเรียน 10 ปี ‘พฤษภา 53’ – 10 คำถาม กับ สมบัติ บุญงามอนงค์
ประชาธิปไตยจะเกิดขึ้นได้อย่างไร การชุมนุมประท้วงในอนาคตจะเป็นแบบไหน อ่านทัศนะจากสมบัติ บุญงามอนงค์ ที่ตกผลึกจากเหตุการณ์ พ.ค. 2553
วาทกรรมกำหนด ‘ความจริง’ ประวัติศาสตร์ : ความทรงจำที่ถูกแช่แข็งจากเหตุสลายชุมนุม เม.ย. – พ.ค. ปี 53
101 ชวนทบทวนวาทกรรมที่กำหนดความจริงของประวัติศาสตร์นี้ เพื่อให้เข้าใจถึงเหตุผลว่า ทำไมเราจึงต้องรำลึกและพูดถึงเหตุการณ์นี้ไม่ให้เงียบหายไปจากสังคมไทย นำไปสู่คำถามที่สังคมต้องร่วมกันตอบว่า “เราควรจะจดจำเหตุการณ์นี้อย่างไร?”
บนถนนสายตาสว่าง: กรพินธุ์ พัวพันสวัสดิ์
ภาวะตาสว่างทางการเมืองของคนเสื้อแดงในทศวรรษที่ผ่านมาเป็นแบบไหน ท่ามกลางความสูญเสีย มวลชนเรียนรู้และปรับตัวอย่างไร อ่านทัศนะจาก ‘กรพินธุ์ พัวพันสวัสดิ์’
“1 ทศวรรษ ล้อมปราบเสื้อแดง ความตายปลุกความจริง” กับ พวงทอง ภวัครพันธุ์
101 สนทนากับ รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์ จากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนึ่งในทีมงานศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุม กรณี เม.ย.-พ.ค. 53 ในรายการ 101 One-on-One ep.141 : ‘1 ทศวรรษ ล้อมปราบเสื้อแดง ความตายปลุกความจริง’
101 One-On-One Ep.142 : เขตใช้กระสุนจริง vs. เขตใช้ประชาธิปไตย
101 สนทนากับ สมบัติ บุญงามอนงค์ นักคิดและนักกิจกรรมทางสังคม ผู้สร้างนวัตกรรมในการท้าทายเผด็จการมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศไทย ไล่เรียงตั้งแต่ภาพจำในการต่อสู้เชิงสัญลักษณ์ ไปจนกระทั่งว่าอะไรคือโจทย์ใหม่สำหรับการต่อสู้ของฝ่ายประชาธิปไตย
ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ: หนึ่งทศวรรษความตายแปลกหน้าในประวัติศาสตร์ไร้เสียง
วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ แกนนำนปช. หลังการปราบปรามการชุมนุมเสื้อแดงผ่านมา 10 ปี แต่ผู้เสียชีวิตยังเข้าไม่ถึงความยุติธรรม
เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว “ใครบ้างที่เจ็บปวด”: 10 ปีล้อมฆ่า 2553 กับคำถามอันเงียบงัน
คุยกับเบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว ในวาระ 10 ปีสังหารหมู่ 2553 อะไรเป็นเงื่อนไขที่ทำให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ
สารคดี Father and Son
สารคดีเกี่ยวกับ “พ่อและลูกชาย” 1 คนเป็น 1 คนตาย ที่กำลังเผชิญหน้ากับวัฒนธรรมลอยนวลพ้นผิดและอาชญากรรมโดยรัฐ
บันทึก Father and Son ‘พันธ์ศักดิ์ ศรีเทพ’ ที่ไปไกลกว่า ‘เฌอ’
ทัศนะของพันธ์ศักดิ์ ศรีเทพ ผู้สูญเสียลูกจากการสลายชุมนุมในปี 2553 ต่อกระบวนการยุติธรรมไทย
บันทึก ‘19 พฤษภาคม 2553’ ในสายตาจรัล ดิษฐาอภิชัย
จรัล ดิษฐาอภิชัย อดีตแกนนำนปช. และอดีตกสม. เขียนบันทึก ‘ลักษณะประวัติศาสตร์’ การล้อมปราบคนเสื้อแดงเมื่อปี 2553
101 One-on-One Ep.141 : ‘1 ทศวรรษ ล้อมปราบเสื้อแดง ความตายปลุกความจริง’ กับ พวงทอง ภวัครพันธุ์
ทำไมการใช้กำลังล้อมปราบกลางเมืองที่รุนแรงที่สุดจึงเกิดขึ้นกลางเมือง สังคมไทยจำคนเสื้อแดงอย่างไร ที่ทางของขบวนการอยู่ตรงไหนของประวัติศาสตร์ประชาธิปไตย ทหารเปลี่ยนไปแค่ไหนในการเมืองมวลชน และอะไรคือบทเรียนใหญ่ของสังคมไทยในปัจจุบัน สำรวจข้อเท็จจริงของเหตุการณ์และวิเคราะห์พลวัตของหนึ่งในขบวนการการเมืองมวลชนที่ใหญ่ที่สุดของไทย
กาลครั้งหนึ่งประเทศไทยของช่างภาพอิสระ ‘นิค นอสติชท์’
สนทนากับ ‘นิค นอสติชท์’ ถึงการเมืองไทยที่ตกตะกอนอยู่ในใจ ทั้งในฐานะช่างภาพอิสระและคนมีครอบครัวในไทยที่ต้องตัดใจกลับเยอรมนี
อยู่กับความทุกข์ทน วันพรุ่งนี้ที่เงียบงันของเหยื่อทางการเมือง
สนทนากับ บุญเลิศ วิเศษปรีชา ถึงงานล่าสุดของเขา ‘อยู่กับบาดแผล’ บทสำรวจความทุกข์ทนของเหยื่อจากความรุนแรงทางการเมือง ที่นอกจากต้องเผชิญความเจ็บปวดทางร่างกายแล้วยังต้องแบกรับความเจ็บปวดทางใจในฐานะผู้แพ้ที่ถูกสังคมประณาม
เกียรติยศของคนดื้อ สมยศ พฤกษาเกษมสุข
7 ปีที่หายไปของสมยศ พฤกษาเกษมสุข สื่อมวลชนและนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิแรงงาน จากการถูกจองจำด้วยโทษอาญา ม.112 หลังได้รับอิสรภาพเขามองเห็นอะไรทั้งตัวเองและสังคมไทย
In the Name of the Mother เปลวเพลิงในดวงตาพะเยาว์ อัคฮาด
บทสนทนาระหว่างพะเยาว์ อัคฮาด และกมนเกด อัคฮาด แม่ผู้ยืนหยัดเรียกร้องความยุติธรรมหลังความตายของลูกสาวที่เคยยืนหยัดทำหน้าที่อาสาพยาบาลในแดนสังหารจนจากไปก่อนวัยอันควร