Trends
จับกระแสการเปลี่ยนแปลงรอบโลก ผ่านเรื่องเล่าทันเหตุการณ์
Filter
Sort
แพลตฟอร์มพร้อมรับมือเลือกตั้งแค่ไหน ในยุคข้อมูลเท็จเฟื่องฟู
ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมา แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียต่างถอดบทเรียนและออกมาตรการเตรียมความพร้อมสำหรับการเลือกตั้งในหลายประเทศ และแน่นอน การเลือกตั้งทั่วไปในไทยที่กำลังใกล้เข้ามาถึงในวันที่ 14 พฤษภาคมนี้ก็เช่นกัน
คำถามคือ มาตรการกำกับดูแลเนื้อหาของแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียปกป้องการเลือกตั้งจากข่าวลวงได้เพียงพอหรือยัง?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
11 May 2023Culture after Crisis: อนาคตของความบันเทิงและสุนทรียะในปี 2021
101 ชวนอ่านการคาดการณ์ของนักคิด 8 คน เกี่ยวกับอนาคตของโลกความบันเทิง วัฒนธรรม และกีฬา

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย
11 Jan 2021Listening NYC: เมื่อการออกแบบมีส่วนร่วมปฏิรูปวงการตำรวจ
Eyedropper Fill พาไปรู้จัก Listening NYC แคมเปญที่ใช้ ‘การคิดเชิงออกแบบ’ เข้าไปร่วมปรับปรุงการทำงานของตำรวจในนิวยอร์ก ทำให้ผู้คนในสังคมมีส่วนร่วมในการปฏิรูปวงการตำรวจ

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์
18 Nov 2020Youth Manifesto: นโยบายเยาวชนใหม่เพื่อการเมืองของคนหนุ่มสาว
สมคิด พุทธศรี เขียนถึงหลักคิดในการออกแบบนโยบายเยาวชนใหม่เพื่อรองรับการออกมาประกาศเจตนารมณ์ทางการเมืองของคนหนุ่มสาว

สมคิด พุทธศรี
20 Oct 2020ความหมายใหม่ของ ‘อนาถา’ กับโรงพยาบาลแห่งอนาคต
คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนตั้งคำถามกับความหมายของคำว่า ‘คนไข้อนาถา’ ที่อาจเปลี่ยนไปในโลกยุคสมัยใหม่ รวมถึงความเป็นไปได้ในการออกแบบโรงพยาบาลแห่งอนาคตเพื่อตอบโจทย์ความเปลี่ยนแปลงในสังคม

โตมร ศุขปรีชา
13 Oct 2020เมื่อสื่อต้องรายงานเรื่อง “คนโกหก”: บทเรียนจากการเคลื่อนไหวของเครือข่ายทฤษฎีสมคบคิด QAnon
พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงบทบาทของสื่อมวลชนที่ต้องตรวจสอบข้อกล่าวอ้างของแหล่งข่าวในสถานการณ์ที่แหล่งข่าวอาจเป็นผู้ให้ข้อมูลเท็จหรือบิดเบือน ผ่านกรณีการออกมาเคลื่อนไหวปกป้องเด็กจากการค้ามนุษย์ที่นำโดย QAnon

พรรษาสิริ กุหลาบ
9 Oct 2020ความสำเร็จของนิวยอร์กไทมส์ ข่าวร้ายของวงการสื่อ?
ภัทชา ด้วงกลัด เขียนถึงความสำเร็จในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ดิจิทัลของนิวยอร์กไทมส์ ที่กลายเป็นตัวแบบและความหวังขององค์สื่อทั่วโลก ทว่าอาจส่งผลผลร้ายต่ออุตสาหกรรมสื่อโดยรวม และประชาธิปไตยอย่างไม่ตั้งใจ

ภัทชา ด้วงกลัด
30 Sep 2020ขบถ สร้างสรรค์ ฝัน บ้า และอัจฉริยภาพ
คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนมองเส้นแบ่งระหว่าง ‘ความบ้า’ ‘ความขบถ’ และ ‘ความอัจฉริยะ’ ว่าเส้นคั่นบางๆ นี้มีจริงหรือไม่

โตมร ศุขปรีชา
29 Sep 2020ประชาชนลุกฮือระลอกใหม่?: เทียบการประท้วงในไทย เบลารุส และอิสราเอล
จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงเหตุปัจจัยของการประท้วงใหญ่ในเบลารุส อิสราเอล และไทย ที่คล้ายกันทั้งในมิติของการมีผู้นำอำนาจนิยม การรับมือต่อวิกฤตโควิด-19 รวมทั้งองค์ประกอบและยุทธศาสตร์ของขบวนการภาคประชาชน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ
4 Sep 2020เมื่อบูมเมอร์ถดถอยในภาวะรู้คิด: เกิดอะไรขึ้น
คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เล่าเรื่อง ‘ภาวะกระบวนการรู้คิดเสื่อมถอย’ ในกลุ่มคนเจนฯ บูมเมอร์ ในอเมริกา พร้อมชวนย้อนคิดกลับมาในสังคมไทยอย่างเป็นห่วงว่า ‘บูมเมอร์’ ในกลุ่มชนชั้นนำไทย จะอ่านอนาคตสังคมไทยแตกหรือไม่

โตมร ศุขปรีชา
7 Aug 2020สร้างอนาคต ‘สื่อ’ อย่างไรในภาวะวิกฤต
สรุปเนื้อหาจากการประชุมออนไลน์ Newsrewired ที่ Sara Fischer ผู้สื่อข่าวด้านสื่อของเว็บไซต์ข่าว Axios เสนอให้จับตาแนวโน้ม 4 ด้านที่มีผลต่อการกำหนดทิศทางของแวดวงวารสารศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาในอนาคต

พรรษาสิริ กุหลาบ
21 Jul 2020Fauxpology: ขอโทษตอแหล
โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง ‘การขอโทษโดยไม่ได้ขอโทษ’ ที่เรียกกันว่า fauxpology หรือ ‘ขอโทษตอแหล’ ที่มีคำกล่าวขอโทษแต่ไม่ได้สำนึกผิดอย่างแท้จริง

โตมร ศุขปรีชา
15 Jul 2020ภัยเหลือง (Yellow Peril) : ศัพท์ที่กลับมาฮิตจากวิกฤตโควิด-19
คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง พาไปรู้จักประวัติศาสตร์ของ ศัพท์ ‘ภัยเหลือง’ ที่ใกล้เคียงกับการเหยียดคนเอเชียในปัจจุบัน หลังการเกิดไวรัสโควิด-19

เอกศาสตร์ สรรพช่าง
28 May 2020“คลื่นยักษ์เก่า” ที่มาก่อนกำหนด – อ่านอนาคตหลังโควิด
สันติธาร เสถียรไทย เขียนถึง ‘คลื่นยักษ์เก่า’ เทรนด์ 6 เรื่องที่เคยถูกคาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในโลกอนาคต แต่ถูกวิกฤตโควิด-19เร่งให้ ‘มาถึงเร็วขึ้น’

สันติธาร เสถียรไทย
28 May 2020เมื่อพื้นที่ศิลปะอพยพไปอยู่ในเกมออนไลน์
คอลัมน์ Third – Eye View สัปดาห์นี้ Eyedropper Fill เขียนถึง เกมออนไลน์ที่ช่วยให้คนในโลกจริง ‘escape’ ไปเจอชีวิตแสนสงบ และได้เสพงานศิลปะอย่างที่ยากจะทำในชีวิตจริง

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์
14 May 2020เมืองหลังโรคระบาด
คอลัมน์ #เมืองกลายพันธุ์ ตอนใหม่ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ เขียนถึง เมืองหลังโรคระบาด อธิบาย ‘ความปกติใหม่’ ที่ต้องพิจารณาสภาพและโครงสร้างที่เป็นอยู่ก่อนเกิดโรคระบาด และต้องเป็นความปกติใหม่ที่ขยายภาพไปไกลกว่าวิถีชีวิตของชนชั้นกลาง
