fbpx

Social Issues

24 Dec 2018

‘เมือง เทคโนโลยี ความยั่งยืน’ วัตถุดิบชั้นดีของ ‘Trend’ ปี 2018

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ พาสำรวจเมือง เทคโนโลยี และความยั่งยืน เพื่อให้เห็นภาพของ ‘Trend’ ในปี 2018 ที่วนเวียนอยู่รอบการดำรงชีวิตในปัจจุบัน พร้อมเทียบกับภาพที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

24 Dec 2018

World

21 Dec 2018

ประชาคมอาเซียนท่ามกลางสงครามการค้า : 5 ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นในปี 2019

ปิติ ศรีแสงนาม วิเคราะห์บทบาทของไทยในการทำหน้าที่ ‘ประธานอาเซียน’ ท่ามกลางสงครามการค้า พร้อมประเมินสถานการณ์ทั้งบวกและลบที่อาจเกิดขึ้นในปี 2019

ปิติ ศรีแสงนาม

21 Dec 2018

World

19 Dec 2018

หมดยุคร้องเพลงวิ่งข้ามเขา หนังอินเดียแบบเก่ากำลังเปลี่ยน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘หนังอินเดีย’ ยุคใหม่ ที่ไม่ได้มีแค่การวิ่งข้ามภูเขาและเต้นรำทำเพลงอีกต่อไป ทว่าเป็นกลไกสำคัญในการวิพากษ์วิจารณ์และเปลี่ยนแปลงสังคม ไปจนถึงการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ๆ ให้แก่ประเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

19 Dec 2018

World

17 Dec 2018

ชนชั้นนำกับประชาธิปไตยในโลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ สำรวจคำอธิบาย ว่าด้วยชนชั้นนำกับการเปลี่ยนผ่านจากเผด็จการไปสู่ประชาธิปไตยหลายแบบจากทั่วโลก เพื่อทำความเข้าใจวิธีคิดของคนกลุ่มนี้ ในการตัดสินใจหันหน้าหรือหันหลังให้ระบอบประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

17 Dec 2018

มองอเมริกา

7 Dec 2018

สหรัฐฯ กับการเมืองแบบโดนัลด์ ทรัมป์ : ระบบยุติธรรมอยู่กับใคร

กรณีรัสเซียแทรกแซงการเลือกตั้งสหรัฐเขม็งเกลียวไปอีกขั้น ทีมสอบสวนของมุลเลอร์จะทำให้ทรัมป์หลุดตำแหน่งก่อนหมดวาระหรือไม่ อ่านบทวิเคราะห์โดย ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Dec 2018

World

6 Dec 2018

สหายแจ็คหม่า กับเรื่องต้องรู้ของพรรคคอมมิวนิสต์จีน

ไม่ใช่เรื่องน่าประหลาดใจที่แจ๊คหม่าเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์จีน อาร์ม ตั้งนิรันดร เล่าที่มาที่ไปและผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจการเมืองที่อาจจะได้รับจากการเป็นสมาชิกพรรคที่ปกครองจีนอยู่เบื้องหลังพรรคนี้

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Dec 2018

World

30 Nov 2018

ระบอบปูตินเสื่อมอำนาจ?

จิตติภัทร พูนขำ มองสัญญาณการเสื่อมอำนาจของระบอบปูติน ที่ครองอำนาจมาเกือบสองทศวรรษ ซึ่งปรากฏผ่านผลโพลและการเลือกตั้งระดับภูมิภาคครั้งล่าสุด

จิตติภัทร พูนขำ

30 Nov 2018

World

27 Nov 2018

อนุสาวรีย์ที่สูงที่สุดในโลก ภาพหวังความเป็นหนึ่งเดียวของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘The Statue of Unity’ อนุสาวรีย์ที่สูงที่สุดในโลกอันใหม่ พร้อมอ่านนัยยะทางการเมืองทั้งภายในและระหว่างประเทศของอินเดียที่มาพร้อมกับอนุสาวรีย์

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

27 Nov 2018

Economy

26 Nov 2018

จาก Industry 4.0 ถึงสงครามการค้าสหรัฐ

ปิติ ศรีแสงนาม พาไปย้อนดูประวัติศาสตร์การปฏิวัติอุตสาหกรรม ไล่มาจนถึงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 หรือ Industry 4.0 ที่มีหัวใจคือเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ที่นำมาสู่สงครามการค้าระหว่างสหรัฐ-จีน

ปิติ ศรีแสงนาม

26 Nov 2018

Interviews

23 Nov 2018

อาเซียนกับความไม่เป็นประชาธิปไตย ‘ดุลยภาค ปรีชารัชช’ มองบทบาทไทย 2019

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช อาจารย์โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ถึงบทบาทไทยในฐานะประธานอาเซียนปี 2019 ขยายภาพความไม่เป็นประชาธิปไตยในอาเซียนที่แต่ละประเทศเข้ามาโอบอุ้มกันและกัน

วจนา วรรลยางกูร

23 Nov 2018

GLOBAL CHANGE

23 Nov 2018

‘ราคา’ ของการใช้อินเทอร์เน็ต

วรากรณ์ สามโกเศศ เก็บประเด็นจากหนังสือ Changing the Subject : Art and Attention in the Internet Age ว่าด้วย ‘ราคาที่มองไม่เห็น’ ของชีวิตในโลกดิจิทล ตั้งแต่การใช้อินเทอร์เน็ต GPS จนถึงโซเชียลมีเดีย

วรากรณ์ สามโกเศศ

23 Nov 2018

วิธีอ่าน

16 Nov 2018

อ่านการสอน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ‘สนทนา’ กับผู้ช่ำชองในการสอนวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพื่อวิพากษ์ความรู้ภายในสาขาวิชาและตรวจสอบอุดมการณ์ที่อำพรางตนเองมาอยู่ในรูปของความรู้

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Nov 2018

TREND RIDER

15 Nov 2018

นัยและความสำคัญของ Amazon HQ2

การจะสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่กระทบต่อชีวิตของผู้คน ย่อมต้องศึกษาข้อดีข้อเสีย และเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา หยิบเอาประเด็นที่กำลังร้อนในอเมริกา ว่าด้วยที่ตั้งใหม่ หรือ HQ2 ของอเมซอน ที่ต้องใช้พื้นที่กว่า 7 แสนตารางกิโลเมตร!

โตมร ศุขปรีชา

15 Nov 2018
1 73 74 75 89

MOST READ

Global Affairs

29 Feb 2024

อย่าให้ทฤษฎีเป็นนายเรา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดสนทนาว่าด้วยหลากวิธีในการใช้ทฤษฎีเพื่อศึกษาการเมืองระหว่างประเทศ และข้อพึงระวังเพื่อไม่ให้ติดทฤษฎีกลายเป็นนายเรา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

29 Feb 2024

World

5 Mar 2024

ญี่ปุ่นกับเงินซุกมุ้งใน LDP ที่กำลังเป็นกรณีอื้อฉาวใหม่ทางการเมือง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกรณี ‘เงินซุกมุ้ง’ ที่เป็นเรื่องอื้อฉาวระลอกใหม่ของพรรค LDP เพื่อเปิดไปสู่ ‘การเมืองเรื่องมุ้ง’ ในภาพใหญ่ ว่ามีความเป็นมาอย่างไรและมีบทบาทหน้าที่อะไรถึงได้กลายเป็นแบบแผนและสถาบันภายในพรรค LDP เรื่อยมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

5 Mar 2024

World

29 Feb 2024

มองผ่านน้ำตาท่านผู้นำ: ปัญหาอัตราเกิดต่ำในเกาหลีเหนือและนโยบายเพิ่มประชากรประเทศคอมมิวนิสต์

มัธธาณะ รอดยิ้ม พาไปย้อนดูนโยบายส่งเสริมการมีลูกของประเทศคอมมิวนิสต์ในอดีต เมื่อแนวคิดสวัสดิการส่งผลดีต่อการคิดจะมีลูก แต่ก็ไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่ทำให้คนตัดสินใจมีลูก

มัธธาณะ รอดยิ้ม

29 Feb 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save