fbpx

Global Affairs

29 Mar 2019

กฎหมายระหว่างประเทศ บนทางแพร่งแห่งอำนาจ 

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ‘กฎหมายระหว่างประเทศ’ ผ่านแว่นตาของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งปรากฏให้เห็นความลักลั่น และกำหนดตัดสินไม่ได้ในหลายๆ มิติ

จิตติภัทร พูนขำ

29 Mar 2019

World

26 Mar 2019

อินเดียกับการเลือกตั้งในระบอบรัฐสภาที่ใหญ่ที่สุดในโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์กระแสช่วงโค้งสุดท้ายของการเลือกตั้งอินเดีย ซึ่งมี ‘บิ๊กเซอร์ไพรส์’ ให้เห็นเป็นระยะ และยังไม่มีใครกล้าฟันธงว่า สุดท้ายแล้วผลจะออกมาอย่างไร

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2019

Asia

25 Mar 2019

คำถามต่อรัฐบาลชุดใหม่ : นโยบายไทยในอ่าวเบงกอล

ปิติ ศรีแสงนาม โยนคำถามเรื่องนโยบายต่างประเทศให้รัฐบาลชุดใหม่นำไปขบคิดต่อ โดยเฉพาะการเชื่อมความสัมพันธ์กับกลุ่มประเทศอ่าวเบงกอล ที่จะช่วยยกระดับเศรษฐกิจในภูมิภาคได้อย่างมหาศาล

ปิติ ศรีแสงนาม

25 Mar 2019

Trends

21 Mar 2019

White Terrorism: ปรากฏการณ์ที่มองข้ามไม่ได้

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาไปรู้จัก ‘ก่อการร้ายขาว’ หรือ White Terrorism แนวคิดเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร และมีอุดมการณ์หรือองค์กรอะไรอยู่เบื้องหลังหรือไม่

โตมร ศุขปรีชา

21 Mar 2019

Global Affairs

15 Mar 2019

การจัดการความมั่นคง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงแนวทาง ‘การจัดการความมั่นคงของรัฐ’ สองรูปแบบใหญ่ๆ คือการจัดการความมั่นคงในสภาวะปกติ กับการจัดการความมั่นคงในสภาวะยกเว้น

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Mar 2019

World

11 Mar 2019

อุษาคเนย์ยาม ‘ว่างแผ่นดิน’

ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึงหนังสือ ‘ว่างแผ่นดิน’ ของนิธิ เอียวศรีวงศ์ ที่เชื่อมโยงประวัติศาสตร์ช่วง ‘กรุงแตก’ ของสามราชอาณาจักร คืออยุธยา อังวะ และด่ายเหวียด ไว้อย่างเป็นระบบ

ยุกติ มุกดาวิจิตร

11 Mar 2019

US

8 Mar 2019

ความพ่ายแพ้ที่ฮานอย

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงมูลเหตุเบื้องหลังการพบปะกันของทรัมป์ และคิมจองอึน ที่กรุงฮานอย เมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา พร้อมวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้การประชุมครั้งนี้ล้มเหลวไม่เป็นท่า

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

8 Mar 2019

Trends

7 Mar 2019

ใบหน้าของคน Gen Z : ผู้จะอยู่บนโลกนี้นานกว่ายุทธศาสตร์ชาติ

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา หยิบเอาผลสำรวจของ Pew Research Centre ที่ว่าด้วยทัศนคติของช่วงวัยที่แตกต่างในอเมริกา เมื่อ ‘โลกใหม่’ ปะทะ ‘โลกเก่า’ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีในไทยจะอยู่อย่างไร ในโลกที่หมุนเร็วเช่นนี้

โตมร ศุขปรีชา

7 Mar 2019

World

4 Mar 2019

การเมืองแบบลูกผสม (Hybrid Regime) ในเวเนซุเอลา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงลักษณะของ ‘การเมืองลูกผสม’ ในยุคสมัยของประธานาธิบดีอูโก้ ชาเวซ แห่งเวเนซุเอลา ซึ่งคลับคล้ายคลับคลากับสถานการณ์การเมืองไทยยุคปัจจุบันเป็นอย่างยิ่ง

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

4 Mar 2019

Asia

1 Mar 2019

ความตึงเครียดระลอกใหม่ของอินเดีย-ปากีสถาน : ลำดับเหตุการณ์และสิ่งที่ต้องจับตามอง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์ความขัดแย้งระลอกล่าสุดระหว่างอินเดีย-ปากีสถาน ตั้งแต่ชนวนของปัญหา บทบาทท่าทีของประเทศยักษ์ใหญ่ และสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

1 Mar 2019

Global Affairs

1 Mar 2019

ผจญภัยสงคราม : วงศาวิทยาของสงครามในการเมืองโลก 

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงการเมืองเรื่อง ‘สงคราม’ ไล่เรียงวิวัฒนาการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งสงครามภายในประเทศและระหว่างประเทศ พร้อมตั้งข้อสังเกตถึงคำว่า ‘ภัยสงคราม’ ซึ่งถูกใช้ในฐานะเครื่องมือทางการเมืองมาโดยตลอด

จิตติภัทร พูนขำ

1 Mar 2019

TREND RIDER

1 Mar 2019

ทำไมซึมเศร้า – ซึมเศร้าทำไม: คลื่นแห่งโรคซึมเศร้ากำลังสาดซัดเข้าหามนุษยชาติ

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘ซึมเศร้า’ ที่กระจายอยู่ทุกแห่งหนในโลก เกิดอะไรขึ้นกับมวลมนุษยชาติ

โตมร ศุขปรีชา

1 Mar 2019

GLOBAL CHANGE

26 Feb 2019

เพชรมีตำหนิกับก้อนกรวด

วรากรณ์ สามโกเศศ เขียนถึงแนวคิด ‘Nirvana Fallacy’ ของ Harold Demsetz นักเศรษฐศาสตร์ผู้ล่วงลับ พร้อมยกตัวอย่างให้เห็นว่า ในบางสถานการณ์นั้น การมองหาแต่ ‘เพชรที่ไร้ที่ติ’ อาจลงเอยด้วยการเหลือแต่มือเปล่า

วรากรณ์ สามโกเศศ

26 Feb 2019
1 71 72 73 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save