fbpx

Global Affairs

25 Jun 2019

โจมตีเพื่อหาเสียง? : สมการอำนาจ ทรัมป์ v กองทัพ ในปฏิบัติการสู้เพื่อโดรน

ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ วิเคราะห์มูลเหตุเบื้องหลังความตึงเครียดระหว่างสหรัฐฯ-อิหร่าน ระลอกล่าสุด ปรากฏการณ์โดรนสหรัฐถูกยิงตกบอกอะไรเกี่ยวกับการเมืองและการทหารของสหรัฐอเมริกาเวลานี้บ้าง

ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ

25 Jun 2019

Thai Politics

19 Jun 2019

แดน สเลเตอร์ : มุมมองใหม่ว่าด้วยประชาธิปไตยในเอเชีย

สมคิด พุทธศรี คุยกับ แดน สเลเตอร์ (Dan Slater) ว่าด้วยบทเรียนประชาธิปไตยในระยะเปลี่ยนผ่านจากประเทศในเอเชียตะวันออก

สมคิด พุทธศรี

19 Jun 2019

Sustainability

10 Jun 2019

สารคดี ในม่านหมอกเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (ตอนจบ) : ทลายชาวเล – ทะเลทวาย

มาถึงตอนจบของสารคดีเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย ว่าด้วยชีวิตผู้คนที่ต้องย้ายออกจากพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ไปอยู่ในบ้านจัดสรรที่ขาดน้ำไฟ และชาวบ้านที่เกือบเสียภูเขา แม่น้ำของพวกเขาให้เขื่อน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

10 Jun 2019

US

7 Jun 2019

การเมืองในฟาร์มสัตว์สหรัฐ: อ่านความระหว่างบรรทัด ‘8 นาที’ จากมุลเลอร์ถึงทรัมป์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ “ความระหว่างบรรทัด” ในคำแถลงต่อสาธารณะครั้งแรกและครั้งสุดท้ายของโรเบิร์ต มุลเลอร์ ต่อบทบาทของทรัมป์ในคดีรัสเซียแทรกแซงการเลือกตั้ง 2016

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Jun 2019

Global Affairs

7 Jun 2019

สงครามการค้าจีน-สหรัฐฯ จะจบอย่างไร?

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงสถานการณ์ล่าสุดของสงครามการค้าระหว่างจีน-สหรัฐ ซึ่งกำลังอยู่ในช่วงชิงไหวชิงพริบ พร้อมวิเคราะห์หมากต่อไปของละฝ่าย ว่าสุดท้ายจะนำไปสู่บทสรุปเช่นไร

อาร์ม ตั้งนิรันดร

7 Jun 2019

Interviews

4 Jun 2019

ผู้ลี้ภัยไม่มีสี : คุยกับ ‘กัณวีร์ สืบแสง’ อดีตหัวหน้าสำนักงานภาคสนาม ซูดานใต้ UNHCR

ประสบการณ์ช่วยเหลือผู้ลี้ภัยจากซูดานใต้กว่า 5 ปีของ ‘กัณวีร์ สืบแสง’ ช่วยให้สังคมไทยเปิดรับทำความเข้าใจสิทธิมนุษยชนมากขึ้นได้อย่างไร

ธิติ มีแต้ม

4 Jun 2019

China

3 Jun 2019

“อย่าหาว่าเราไม่เตือนคุณ” อ่านจุดยืนของจีนในการเจรจาการค้าจีน-สหรัฐฯ จากหนังสือปกขาว

แซนด์ ธรรมมงกุฎ เขียนถึงใจความสำคัญในหนังสือปกขาว (white paper) ว่าด้วยจุดยืนล่าสุดของจีนในการเจรจาการค้าจีน-สหรัฐ ที่ถูกเผยแพร่ออกมาไล่เลี่ยกับข้อความ “อย่าหาว่าฉันเคยไม่เตือน” จากหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่ของทางการจีน

แซนด์ ธรรมมงกุฎ

3 Jun 2019

World

2 Jun 2019

ความเข้มแข็งและคุณภาพประชาธิปไตยในลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาวแสงรัตน์ สำรวจพัฒนาการของประชาธิปไตยในลาตินอเมริกา พร้อมประมวลบทวิเคราะห์จากหลายสำนัก ซึ่งสะท้อนไปในทิศทางเดียวกันว่า ประชาธิปไตยในภูมิภาคนี้ยังมีปัญหา กระทั่งถดถอยลงด้วยซ้ำ

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

2 Jun 2019

Social Issues

29 May 2019

สารคดี ในม่านหมอกเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย : ตอนที่ 1 เส้นทางสู่กิโลเมตรที่ศูนย์ (เปล่า) ?

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย พาไปรู้จักเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย ตอนที่ 1 เล่าชีวิตของชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบจากการสร้าง Road Link เชื่อมต่อจากพุน้ำร้อน-ทวาย ความยาวกว่า 138 กิโลเมตร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

29 May 2019

Global Affairs

27 May 2019

จากสงครามการค้า สู่สงครามเทคโนโลยี และการช่วงชิงความเป็นผู้จัดระเบียบโลก

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงสงครามการค้าระหว่างจีน-สหรัฐ ที่พัฒนาเป็นสงครามเทคโนโลยี ไล่เรียงที่มาที่ไปและกลยุทธ์ในกับขับเคี่ยวกันของทั้งสองฝ่าย

ปิติ ศรีแสงนาม

27 May 2019

Global Affairs

27 May 2019

สถาบันรัฐ ความเสื่อมถอย และความขัดแย้งเรื้อรัง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนทำความเข้าใจความขัดแย้งผ่านความสัมพันธ์ของระบอบการเมืองและประสิทธิภาพของสถาบันรัฐ เมื่อมีงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่า ‘การเมืองแบบครึ่งผีครึ่งคน’ เสี่ยงจะทำให้ความขัดแย้งมุ่งไปสู่การใช้กำลัง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

27 May 2019

World

23 May 2019

ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ของฝ่ายขวาในอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงชัยชนะของนเรนทรา โมดี และพรรคบีเจพี ในการเลือกตั้งใหญ่ที่ผ่านมา พร้อมประเมินก้าวต่อไปของอินเดีย ทั้งมิติสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

23 May 2019

Trends

23 May 2019

เมื่อเฟซบุ๊กมีคนตายมากกว่าคนเป็น

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา หยิบเอาประเด็นที่น่าสนใจยิ่งเกี่ยวกับ ‘เฟซบุ๊ก’ ที่อาจกลายเป็นสุสานคนตายในอนาคตอันใกล้ แล้วเราจะทำอย่างไรกับข้อมูลและประวัติศาสตร์ที่เป็นอภิมหา Big Data นี้

โตมร ศุขปรีชา

23 May 2019

World

17 May 2019

ตอบปัญหาค้างใจ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ตั้งข้อสังเกตผ่านสถานการณ์จำลองการเจรจาระหว่างประเทศ เพื่อตอบคำถามว่า ระหว่าง “โครงสร้างทางสังคม” กับ “ผู้กระทำการ” ตัวแปรไหนใช้อธิบายโลกได้ดีกว่ากัน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

17 May 2019

World

10 May 2019

เหตุการณ์ 4 พฤษภาคม กับเกมการตีความประวัติศาสตร์จีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เล่าถึงการถอดบทเรียนเหตุการณ์ 4 พฤษภาคม 1919 ของปัญญาชนจีนจากทั้งฝ่ายผู้สนับสนุนและฝ่ายผู้ต่อต้านพรรคคอมมิวนิสต์จีน แม้จะเป็นเหตุการณ์เดียวกันแต่กลับถูกตีความและสร้างวัฒนธรรมทางความคิดที่ต่างกันตามอุดมการณ์ทางการเมือง

อาร์ม ตั้งนิรันดร

10 May 2019
1 69 70 71 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

World

27 Mar 2024

ทำไมเราถึงสนใจชีวิตของคนในราชวงศ์ (อังกฤษ) กันนักนะ

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ชวนสำรวจความสนใจที่ผู้คนมีต่อราชวงศ์อังกฤษ อะไรที่ทำให้ราชวงศ์วินด์เซอร์เป็นที่สนใจของผู้คนกลุ่มใหญ่มากมายถึงเพียงนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save