fbpx

Life & Culture

9 Jul 2020

การทดลองในสัตว์ ไม่ทำได้ไหม? อะไรคือทางออก?

ลลิตตา สุริยาอรุณโรจน์ ชวนย้อนดูวิทยาการของวิทยาศาสตร์การแพทย์และจริยธรรมเกี่ยวกับการทดลองในสัตว์

ลลิตตา สุริยาอรุณโรจน์

9 Jul 2020

Global Affairs

8 Jul 2020

ความเหลื่อมล้ำ การศึกษา และทุนในศตวรรษที่ 21

พศธน แสงวันลอย เขียนถึงหนังสือ ‘ทุนในศตวรรษที่ 21’ ของ Thomas Piketty และชี้ให้เห็นถึงข้อจำกัดของการศึกษาในระบอบทุนนิยมที่อาจไม่เพียงพอต่อการลดความเหลื่อมล้ำ

กองบรรณาธิการ

8 Jul 2020

World

7 Jul 2020

ห้าสิบปีแห่งความพยายามที่ล้มเหลวของระบอบสังคมนิยมประชาธิปไตยในชิลี

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ รำลึกถึง 50 ปีแห่งความพยายามที่ล้มเหลวในการสร้างระบอบสังคมนิยมประชาธิปไตยในชิลี ภายใต้การนำของอดีตประธานาธิบดีซัลบาดอร์ อาเยนเด

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

7 Jul 2020

Media

4 Jul 2020

101 In Focus Ep.46 : IR ต้องรอด!

101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุณผู้ฟังสำรวจทางรอดของศาสตร์และการเรียนการสอนสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศผ่านบทสัมภาษณ์ ผศ.ดร.จิตติภัทร พูนขำ อาจารย์ประจำสาขาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

กองบรรณาธิการ

4 Jul 2020

US

3 Jul 2020

Black Lives Matter – การปฏิวัติอเมริกาครั้งที่ 3 ?

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนคิดเรื่องการให้ความหมายใหม่ของ “การปฏิวัติ” ในโลกยุคพ้นสมัยใหม่ ขบวนการ Black Lives Matter จะกลายเป็นการปฏิวัติอเมริกาครั้งที่ 3 ได้หรือไม่

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

3 Jul 2020

World

2 Jul 2020

ปฏิบัติการช่วงชิงความทรงจำ: คนธรรมดากับ “ก้อนหินสะดุด” ในเยอรมนี

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนทำความรู้จักกับ ‘ก้อนหินสะดุด’ ในฐานะนวัตกรรมการช่วงชิงความทรงจำที่บรรจุประวัติศาสตร์บาดแผลร่วมของชาวเยอรมันได้อย่างเป็นประชาธิปไตยและธรรมดาสามัญอย่างถึงที่สุด

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

2 Jul 2020

Spotlights

1 Jul 2020

อินโดนีเซียในสมรภูมิ COVID-19 กับ อรอนงค์ ทิพย์พิมล

101 ชวนสนทนากับ ผศ.ดร.อรอนงค์ ทิพย์พิมล อาจารย์ประจำสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงสถานการณ์โควิด-19 ในประเทศอินโดนีเซีย

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

1 Jul 2020

Spotlights

30 Jun 2020

“ไม่มี Theory of Everything ในโลกของ IR” จิตติภัทร พูนขำ

101 สนทนากับ จิตติภัทร พูนขำ เกี่ยวกับองค์ความรู้และโลกของ IR ไปจนถึงการเรียนการสอน และการปรับตัวของ IR ในยุคที่โลกผันผวนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

30 Jun 2020

World

29 Jun 2020

ล้มรูปปั้นพ่อค้าทาส ชำระประวัติศาสตร์อัปยศ

สมชัย สุวรรณบรรณ ชวนคิดผ่านกรณีการประท้วงต่อต้านการเหยียดผิว เมื่อคนรุ่นหลังประกาศว่าพวกเขาไม่ยอมรับการยกย่องอนุสาวรีย์บุคคลในอดีตที่กดขี่รังแกเพื่อนมนุษย์และสนับสนุนให้มีการชำระประวัติศาสตร์

สมชัย สุวรรณบรรณ

29 Jun 2020

World

29 Jun 2020

โอลอฟ พาลเมอร์ ผู้นำสังคมนิยมคนสุดท้ายแห่งสวีเดน

มัธธาณะ รอดยิ้ม ย้อนรำลึกชีวิต โอลอฟ พาลเมอร์ อดีตผู้นำสวีเดน นักสังคมนิยมประชาธิปไตย ที่เสียชีวิตระหว่างดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสวีเดน

มัธธาณะ รอดยิ้ม

29 Jun 2020

Asia

25 Jun 2020

เมื่อวันนั้นมาถึง: สามัญชนกับกระบวนการประชาธิปไตย

จักรกริช สังขมณี เล่าเรื่องการลุกฮือของประชาชนเกาหลีใต้ในเดือนมิถุนายน ปี 1987 — ขบวนการประชาชนที่ต่อสู้จนได้มาซึ่งสังคมประชาธิปไตย

จักรกริช สังขมณี

25 Jun 2020

Economic Focus

24 Jun 2020

รู้เท่าทันระเบียบโลกใหม่ ในยุคหลังโควิด

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนเกี่ยวกับระเบียบโลกและมาตรฐานทางด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศที่อาจปรับเปลี่ยนไปในยุคหลังโควิด-19

ปิติ ศรีแสงนาม

24 Jun 2020

US

23 Jun 2020

สงครามศักดิ์สิทธิ์ในประวัติศาสตร์สีดำ

ปกป้อง จันวิทย์ ชวนย้อนอ่านเรื่องเล่าสีดำในหน้าประวัติศาสตร์อเมริกายุคหลังสงครามกลางเมือง ภาพอดีตทาสถูก ‘แขวนคอเผาทั้งเป็น’ สะท้อนภาพแห่งยุคสมัยของสังคมอเมริกันในวันนั้นและในวันนี้อย่างไร

ปกป้อง จันวิทย์

23 Jun 2020

World

22 Jun 2020

รุนแรงแค่ไหน แค่ไหนเรียกรุนแรง : สำรวจข้อถกเถียงท่ามกลางการประท้วงในสหรัฐฯ

อ่านข้อถกเถียงที่เกิดขึ้นในบริบทการประท้วงในสหรัฐอเมริกา ผ่านมุมมอง “อนาธิปไตย” “ความรุนแรง” และ “การเปลี่ยนแปลงสังคม”

ธีรภัทร อรุณรัตน์

22 Jun 2020

World

18 Jun 2020

การลักพาตัวและการบังคับบุคคลให้สูญหาย: ความรุนแรงโดยรัฐต่อประชาชนในอินโดนีเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงการ ‘อุ้มหาย’ ที่เกิดขึ้นในช่วงวิกฤตการเมืองของอินโดนีเซีย ปี 1997-1998 และยังคงทิ้งร่องรอยไว้ตราบจนถึงปัจจุบัน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

18 Jun 2020
1 55 56 57 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

World

27 Mar 2024

ทำไมเราถึงสนใจชีวิตของคนในราชวงศ์ (อังกฤษ) กันนักนะ

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ชวนสำรวจความสนใจที่ผู้คนมีต่อราชวงศ์อังกฤษ อะไรที่ทำให้ราชวงศ์วินด์เซอร์เป็นที่สนใจของผู้คนกลุ่มใหญ่มากมายถึงเพียงนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save