fbpx

Global Affairs

2 Sep 2020

ระเบียบโลกที่เปลี่ยนแปลง ไทยต้องเผชิญหน้ากับอะไร?

ปิติ ศรีแสงนาม เปิดผลงานวิจัยเกี่ยวกับสถานการณ์และฉากทัศน์ของการเปลี่ยนแปลงระเบียบโลกใหม่ เพื่อดูว่าระเบียบโลกจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด และไทยจะอยู่ในสภาพแวดล้อมดังกล่าวได้อย่างไรบ้าง

ปิติ ศรีแสงนาม

2 Sep 2020

World

27 Aug 2020

หฤหรรษ์รวันดา: จากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์สู่มหัศจรรย์ทางเศรษฐกิจ (1)

ลลิตา หาญวงษ์ เขียนถึงที่มาของความขัดแย้งระหว่างชาวฮูตูและชาวทุตซีในประเทศรวันดา จนกลายมาเป็นเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่ติดตรึงในความทรงจำของทั้งผู้นำและประชาชนทุกเหล่าในรวันดา

ลลิตา หาญวงษ์

27 Aug 2020

Interviews

26 Aug 2020

อ่านไทย อาเซียน และอินโด-แปซิฟิก กับ ดุลยภาค ปรีชารัชช

101 สนทนากับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช เกี่ยวกับ 5 ทศวรรษอาเซียน รวมไปถึงภาพใหญ่อย่างไทย อาเซียน และอินโด-แปซิฟิก ในเกมกระดานของสองมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

26 Aug 2020

Politics

24 Aug 2020

มองปรากฏการณ์ ‘จะไม่ทน’ ทวนวรรณกรรม Harry Potter

สมชัย สุวรรณบรรณ ชวนมองความหมายในนิยายแฮร์รี่ พอตเตอร์ ซึ่งถูกใช้เป็นสัญลักษณ์การเคลื่อนไหวการเมืองของคนรุ่นใหม่ในหลายที่ทั่วโลก

สมชัย สุวรรณบรรณ

24 Aug 2020

World

20 Aug 2020

ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาของวิถีอาเซียน ภาษาของความเท่าเทียม (?)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงอิทธิพลของภาษาอินโดนีเซียต่อการทำงานของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) และวิถีอาเซียน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

20 Aug 2020

World

20 Aug 2020

สัตยาเคราะห์แบบคานธี: การชุมนุมด้วยความรัก และการดื้อแพ่งต่อความอยุติธรรม

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจหลักสัตยาเคราะห์ อหิงสา และสันติวิธีแบบคานธีในการประท้วงเรียกร้องเอกราชของอินเดียจากเจ้าอาณานิคมอังกฤษ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

20 Aug 2020

Asia

18 Aug 2020

รำลึกสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง – ฉลองวาทกรรมความเป็นเหยื่อ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การใช้การตีความอดีตเป็นเครื่องมือในเกมอำนาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะการใช้ ‘วาทกรรมความเป็นเหยื่อ’ หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในฐานะต้นทุนเพื่อสร้างความชอบธรรมในทางการเมืองและการต่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

18 Aug 2020

Global Affairs

13 Aug 2020

ระเบียบโลกแบบหยินหยาง

อาร์ม ตั้งนิรันดร มองระเบียบโลกหลังโควิด-19 ที่จะเป็นแบบ ‘หยินหยาง’ ซึ่งโลกไม่ได้แบ่งเป็นสองขั้วอย่างชัดเจน แต่จะมีความซับซ้อนแบบไม่มีมิตรแท้และศัตรูถาวร หรือที่เรียกว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศยุคไร้ขั้วเสถียร

อาร์ม ตั้งนิรันดร

13 Aug 2020

World

11 Aug 2020

เมื่อความมั่นคงแบบอเมริกันทำให้การซ้อมรบกลายเป็นเรื่องรอไม่ได้?

ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์ วิเคราะห์ประโยชน์บางส่วนที่สหรัฐอเมริกาได้รับจากการซ้อมรบในต่างประเทศ ทั้งในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ความก้าวหน้าทางการแพทย์ และการลดต้นทุนสิ่งแวดล้อม

ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์

11 Aug 2020

World

11 Aug 2020

จาก ‘สยาม-เชโกสโลวาเกีย’ สู่ ‘ไทย-สาธารณรัฐเช็ก’: ความสัมพันธ์ที่ไม่มีประวัติศาสตร์ร่วม

ธารีรัตน์ เลาหบุตร และ Miroslav Nozina เขียนถึงการสร้างความสัมพันธ์ไทย-สาธารณรัฐเช็ก ประเทศที่ห่างไกลกันทางภูมิศาสตร์และไม่มีเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ร่วมกัน

กองบรรณาธิการ

11 Aug 2020

Global Affairs

10 Aug 2020

States after Crisis: มองอนาคต ‘รัฐ’ 10 แบบหลังวิกฤต

101 ชวนอ่านการคาดการณ์ของนักคิดชั้นนำ 10 คน เกี่ยวกับหน้าตาของรัฐ-ผู้นำ-เครือข่ายชนชั้นนำ 10 แบบ ที่อาจจะเกิดขึ้นหลังวิกฤต

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

10 Aug 2020

US

10 Aug 2020

“get in good trouble, necessary trouble.” : จอห์น ลูอิสกับการสร้างประชาธิปไตยในอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เล่าถึงชีวิตและความคิดของ ‘จอห์น ลูอิส’ ผู้เป็นมโนธรรมแห่งรัฐสภาในการต่อสู้เพื่อความยากลำบากที่ดี ตำนานการต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพคนผิวดำ เคียงบ่าเคียงไหล่ ดร.คิง

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

10 Aug 2020

Trends

7 Aug 2020

เมื่อบูมเมอร์ถดถอยในภาวะรู้คิด: เกิดอะไรขึ้น

คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เล่าเรื่อง ‘ภาวะกระบวนการรู้คิดเสื่อมถอย’ ในกลุ่มคนเจนฯ บูมเมอร์ ในอเมริกา พร้อมชวนย้อนคิดกลับมาในสังคมไทยอย่างเป็นห่วงว่า ‘บูมเมอร์’ ในกลุ่มชนชั้นนำไทย จะอ่านอนาคตสังคมไทยแตกหรือไม่

โตมร ศุขปรีชา

7 Aug 2020

World

7 Aug 2020

53 ปีอาเซียน: เกิดจากสงครามเย็น 1.0 เผชิญหน้าสงครามเย็น 2.0

ในโอกาสครบรอบ 53 ปี การก่อตั้งอาเซียน ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงจุดกำเนิดของอาเซียน ที่ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น 1.0 และต้องเผชิญกับสงครามเย็น 2.0 หรือสนามการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน

ปิติ ศรีแสงนาม

7 Aug 2020

Asia

5 Aug 2020

อ่านอินเดียในระเบียบโลกใหม่ กับ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

101 สนทนากับ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก คอลัมนิสต์ประจำ The101.world และผู้ที่สนใจศึกษาอินเดียในมิติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ไล่เรียงตั้งแต่อินเดียบนเวทีโลก อินเดียกับเอเชียใต้ จีน และอาเซียน รวมถึงความร่วมมือระดับภูมิภาคเพื่อรับมือกับโควิด-19

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

5 Aug 2020
1 53 54 55 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save