fbpx

Trends

29 Sep 2020

ขบถ สร้างสรรค์ ฝัน บ้า และอัจฉริยภาพ

คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนมองเส้นแบ่งระหว่าง ‘ความบ้า’ ‘ความขบถ’ และ ‘ความอัจฉริยะ’ ว่าเส้นคั่นบางๆ นี้มีจริงหรือไม่

โตมร ศุขปรีชา

29 Sep 2020

Global Affairs

27 Sep 2020

ถ้าหากไทยไม่ปรับ… ในระเบียบโลกที่เปลี่ยน…

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนพิจารณาระเบียบโลกที่เปลี่ยนแปลงไป พร้อมทั้งฉายภาพให้เห็นสถานการณ์เลวร้ายที่สุด หากประเทศไทยไม่ปรับตัวในระเบียบโลกที่เปลี่ยนแปลงนี้

ปิติ ศรีแสงนาม

27 Sep 2020

Life & Culture

25 Sep 2020

Tahrir Square สนามแห่งการเรียกร้องของประชาชนอียิปต์ในช่วง Arab Spring

ชวนสำรวจ Tahrir Square กับบทบาทการเป็นพื้นที่ช่วงชิงทางอำนาจ อุดมการณ์ ระหว่างรัฐบาลและประชาชนอียิปต์ในช่วง Arab Spring

ปรัชญพล เลิศวิชา

25 Sep 2020

Asia

24 Sep 2020

อินเดียในสมรภูมิ New Normal

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์เบื้องหลังที่ส่งผลให้โควิด-19 ระบาดอย่างหนักในอินเดียตั้งแต่ต้นปีจนถึงปัจจุบัน และชี้ให้เห็นแสงปลายอุโมงค์ของวิกฤตครั้งนี้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

24 Sep 2020

Life & Culture

24 Sep 2020

“Air America” : จากภารกิจลับในยุคสงครามเย็นถึงการพา ‘กระดูกอเมริกัน’ กลับบ้าน

ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์ ชวนทำความรู้จักสายการบิน ‘แอร์อเมริกา’ (Air America) สายการบินเอกชนที่มีบทบาทสำคัญเพื่อสนับสนุนสงครามลับในลาวและสกัดกั้นภัยคอมมิวนิสต์ในช่วงสงครามเวียดนาม

ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์

24 Sep 2020

China

23 Sep 2020

แอปเปิล จีนและทฤษฎีสมคบคิด

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง เมืองกุ้ยโจว เมืองเศรษฐกิจ Big Data น้องใหม่โตเร็ว ซึ่งกลายเป็นสมรภูมิอันซับซ้อนของความขัดแย้งระหว่างจีน-สหรัฐหลังแอปเปิลตบเท้าก้าวเท้าเข้ามาในเมืองนี้

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

23 Sep 2020

World

23 Sep 2020

บัญญัติ 7 ประการของฮิตเลอร์กับสงครามแย่งชิงมวลชน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงหลักพื้นฐาน 7 ประการของการทำโฆษณาชวนเชื่อที่พรรคนาซีใช้จนสามารถปลุกระดมมวลชนให้คล้อยตามผู้มีอำนาจได้

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

23 Sep 2020

World

21 Sep 2020

55 ปีเหตุการณ์เกสตาปู: การสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย (1)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง ‘เหตุการณ์เกสตาปู’ จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงปี 2508-9 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เลวร้ายที่สุดเหตุการณ์หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือแม้กระทั่งของโลก

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Sep 2020

US

21 Sep 2020

การเมืองสหรัฐฯ หลัง RBG : ฝันร้ายของลิเบอรัล?

การจากไปของ RBG ทำให้การเมืองสหรัฐร้อนแรงขึ้นสุดขีด ดุลอำนาจในศาลสูงสุดและเกมการเลือกตั้งประธานาธิบดีจะเปลี่ยนไปอย่างไร ปกป้อง จันวิทย์ นำเสนอบทวิเคราะห์อนาคตสังคมการเมืองอเมริกัน

ปกป้อง จันวิทย์

21 Sep 2020

Latin America

15 Sep 2020

เมื่อชีวิตไม่ใช่แค่สถิติ: การจดจำผู้ถูกบังคับให้สูญหายผ่านผืนผ้าของหญิงชาวชิลีในช่วงเผด็จการทหาร

สิรินทร์ มุ่งเจริญ เขียนถึง ‘อาร์ปิเญราส’ ผืนผ้าที่หญิงชิลีถักทอถึงเรื่องราวของบุคคลที่ตัวเองรักที่สูญหายหรือเสียชีวิตจากการปราบปรามของนายพลปิโนเชต์

สิรินทร์ มุ่งเจริญ

15 Sep 2020

Global Affairs

11 Sep 2020

อ่านภาษาการต่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการใช้ภาษาในการต่างประเทศ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดบรรยากาศและตรรกะวิธีคิดในเจรจาทางการทูต การกำหนดนโยบายต่างประเทศ และยุทธศาสตร์ความมั่นคง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

11 Sep 2020

Global Affairs

11 Sep 2020

จากแฟนพันธุ์แท้สงครามถึงผู้ประสานงานการซ้อมรบกองทัพไทย-สหรัฐฯ และโลกความมั่นคงหลัง 9/11 – คุยกับณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์

ในโอกาสครบรอบ 19 ปีเหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน 101 ชวน ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์ สนทนากันยาวๆ ทั้งในฐานะแฟนพันธุ์แท้สงครามเกาหลี ผู้ประสานงานการซ้อมรบกองทัพไทย-สหรัฐฯ และโลกความมั่นคงหลัง 9/11

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

11 Sep 2020

Asia

9 Sep 2020

ญี่ปุ่นหลังยุคชินโซ อาเบะ กับ กิตติ ประเสริฐสุข

101 สนทนากับ รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติ ประเสริฐสุข รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับญี่ปุ่นในยุคหลังชินโซ อาเบะ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

9 Sep 2020

US

9 Sep 2020

“กมลา แฮร์ริส” กับอนาคตการเมืองสหรัฐฯ : ความหลากหลายของคนอเมริกัน v ความเป็นหนึ่งของคนผิวขาว

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเมืองอเมริกาก่อนหน้าการเลือกตั้งใหญ่ การเลือก “กามาลา แฮร์ริส” เป็นผู้ชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดีมีความหมายอย่างไร

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

9 Sep 2020

World

8 Sep 2020

การอุ้มหายในลาตินอเมริกาในช่วงสงครามเย็น: กรณีศึกษา Operation Condor (1)

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ย้อนดูที่มาของ Operation Condor ซึ่งเป็นความร่วมมือและการกระทำทางยุทธวิธีทางทหารอย่างลับๆ ในลาตินอเมริกาช่วงสงครามเย็น เพื่อกำจัดฝ่ายซ้าย พวกหัวก้าวหน้า และผู้เห็นต่าง

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

8 Sep 2020
1 52 53 54 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

World

27 Mar 2024

ทำไมเราถึงสนใจชีวิตของคนในราชวงศ์ (อังกฤษ) กันนักนะ

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ชวนสำรวจความสนใจที่ผู้คนมีต่อราชวงศ์อังกฤษ อะไรที่ทำให้ราชวงศ์วินด์เซอร์เป็นที่สนใจของผู้คนกลุ่มใหญ่มากมายถึงเพียงนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save