fbpx

Global Affairs

29 Jan 2021

ผ่าสมรภูมิการเมืองโลก 6 ภูมิภาค ในยุคการทูตวัคซีนเบ่งบาน

101 พาไปเจาะลึกสมรภูมิการเมืองระหว่างประเทศใน 6 ภูมิภาคของโลกในยุคการทูตวัคซีนเบ่งบาน พร้อมไปมองว่าแต่ละขั้วชาติมหาอำนาจกำลังเข้าไปเดินเกมในแต่ละพื้นที่กันอย่างไร

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

29 Jan 2021

Asia

28 Jan 2021

ประชาธิปไตยที่โอบรับอุดมการณ์ทางการเมืองอันหลากหลาย : สูตรไม่ลับฉบับอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญอินเดีย สูตร (ไม่) ลับทีโอบรับไว้ทั้งพรรคคอมมิวนิสต์และพรรคขวาฮินดูนิยม รวมทั้งอุดมการณ์ทางการเมืองอื่นๆ ที่ต่างกันอย่างสุดขั้วในสังคมอินเดียสามารถอยู่ร่วมกันได้มาอย่างยาวนาน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Jan 2021

Law

27 Jan 2021

ถอดบทเรียนทรัมป์ ถอดบทเรียนกฎหมายรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ถอดบทเรียนจากรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา เมื่อรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ของสรัฐอเมริกาส่งผลให้ระบบการเมืองมีร่องรอยของความล้าหลัง และกลายเป็นปัญหาเมื่อผู้นำอย่างโดนัลด์ ทรัมป์ขึ้นสู่อำนาจ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

27 Jan 2021

Global Affairs

26 Jan 2021

สมรภูมิ IR บนโลกไซเบอร์ กับ จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

101 ชวน จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา นักศึกษาปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยจอร์จ วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ผู้สนใจเกี่ยวกับความมั่นคงระหว่างประเทศ สนทนาว่าด้วย ภูมิทัศน์ของการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ขยับขยายปริมณฑลไปสู่โลกดิจิทัล จนกลายเป็นอีกสมรภูมิแห่งการงัดข้อกันระหว่างชาติมหาอำนาจ รวมไปถึงความพยายามของประชาคมโลกในการหา ‘ความมั่นคงบนโลกไซเบอร์’ ท่ามกลางความปั่นป่วนและไม่ลงรอยในความไม่สมานฉันท์ระหว่างประชาชาติ

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

26 Jan 2021

Global Affairs

26 Jan 2021

เจาะสนามเกมการเมืองโลก เมื่อวัคซีนกลายเป็นอาวุธการทูต

101 ชวนวิเคราะห์ว่า สมรภูมิการเมืองโลกในยุคการทูตวัคซีนกำลังเดินหน้าไปทางใด ชาติไหนกระโดดเข้าร่วมการแข่งขันนี้บ้าง อะไรคือแรงจูงใจ ยุทธศาสตร์ และหมัดเด็ดของแต่ละชาติ

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

26 Jan 2021

Justice & Human Rights

21 Jan 2021

การเมืองเรื่องศีลธรรม: สองทศวรรษของการใช้กฎหมายอิสลามที่อาเจะห์

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนเรื่องการบังคับใช้กฎหมายอิสลามอย่างเป็นทางการที่ ‘อาเจะห์’ จังหวัดปกครองพิเศษในประเทศอินโดนีเซีย ไล่เรียงตั้งแต่ความเป็นมา และประเด็นข้อถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์หลังการบังคับใช้กฎหมายแล้ว

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Jan 2021

US

19 Jan 2021

6 มกราในสหรัฐฯ : เมื่อภาคประชาสังคมคาบเกี่ยวกลไกรัฐในเครือข่าย “ฝ่ายขวาสุดโต่ง”

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนมองเหตุการณ์การกลุ่มขวาสุดโต่งบุกอาคารรัฐสภาสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 6 มกราคมที่ผ่านมา ซึ่งอาจมีความเป็นไปได้ว่ามีกลไกรัฐร่วมเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการขวาสุดโต่งในภาคประชาชน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

19 Jan 2021

Global Affairs

15 Jan 2021

จับตาอนาคตไทยและโลก ปี 2021 : วัคซีน-รอยต่อระเบียบโลก-เศรษฐกิจปั่น-การเมืองป่วน

เปิดวง Round Table ชวน อาร์ม ตั้งนิรันดร  ประจักษ์ ก้องกีรติ และพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย  มองปี 2021 ฝ่าวิกฤตที่อาจเรียกได้ว่าใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก

กองบรรณาธิการ

15 Jan 2021

City

12 Jan 2021

คน-เมือง 2020 digital edition : จากกระแสแห่งอนาคต สู่ความปกติใหม่ (?) ในยุคโรคระบาด

ในโอกาสเปิดปี 2021 101 ชวนมองย้อน ‘ความเป็นเมือง’ และ ‘ชีวิตคนเมือง’ ที่ผ่านมาในปี 2020 ว่าต้องเผชิญกับมรสุมอะไรบ้าง และอะไรคือเค้าลางของอนาคตคน-เมืองที่กำลังจะผ่านเข้ามาในปี 2021 – และในอนาคต

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Jan 2021

World

10 Jan 2021

ชาตินิยมลาตินอเมริกาในบริบทของโลกาภิวัตน์ (2)

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนบทความเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของโลกาภิวัตน์กับชาตินิยมในบริบทของลาตินอเมริกา (ตอนที่ 2)

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

10 Jan 2021

China

8 Jan 2021

ถ้าไม่มีโจว เอินไหล… ก็ไม่มีมหาอำนาจจีนในวันนี้

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึง ‘โจว เอินไหล’ หนึ่งในมหาบุรุษที่ชาวจีนเคารพรักมากที่สุด ในวาระครบรอบ 45 ปีการถึงแก่อสัญกรรม

ปิติ ศรีแสงนาม

8 Jan 2021

Global Affairs

4 Jan 2021

เมื่อโรคป่วนโลก: มองย้อน 2020 ปีแห่งการรื้อถอนและสั่นคลอนระเบียบโลก

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย ชวนมองย้อนระเบียบโลกในปี 2020 เมื่อโรคเข้ามาป่วนโลกเช่นนี้ ดุลอำนาจในระเบียบโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร รวมถึงสำรวจสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในรอบปีที่ผ่านมา

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

4 Jan 2021

Asia

27 Dec 2020

เพื่อจักรพรรดิยังยืนยง ยามอัสดงแดนอาทิตย์อุทัย

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกระบวนการที่ทำให้สถาบันจักรพรรดิอันเก่าแก่และอนุรักษนิยม คงอยู่ได้กับระบอบประชาธิปไตยซึ่งกลายเป็นแก่นคุณค่าใหม่ในสังคมญี่ปุ่นและในสากลโลกในยุคหลังสงคราม พร้อมทั้งสำรวจสถานะและบทบาทที่คลุมเครือของสถาบัน อันเกิดจากความพยายามประนีประนอมและ ‘หลอมรวมแบบญี่ปุ่น’

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

27 Dec 2020
1 48 49 50 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save