fbpx

World

10 May 2021

รัฐฆาตกร: กรณีศึกษาสงครามสกปรกในอาร์เจนตินาระหว่างปี ค.ศ. 1976-1983

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงสงครามสกปรกในประเทศอาร์เจนตินาที่เกิดขึ้นเมื่อ 45 ปีที่แล้ว ที่รัฐบาลเผด็จการทหารทำสงครามกับประชาชนที่มีความเห็นต่างทางการเมือง

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

10 May 2021

World

7 May 2021

สหรัฐฯ จัดการกับปัญหาโควิดอย่างไรถึงพังยับเยิน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์สาเหตุที่สหรัฐฯ พ่ายในศึกโรคระบาด อันมีเหตุสำคัญมาจากการบริหารของโดนัลด์ ทรัมป์ ที่อาจเป็นบทเรียนแก่ผู้นำคนอื่นๆ ได้

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 May 2021

World

6 May 2021

The Invisible Race: ‘เอเชียนอเมริกัน’ ชนชาติที่หล่นหายไปในประวัติศาสตร์แห่งการกดขี่

ท่ามกลางกระแสสูงของการเหยียดเชื้อชาติเอเชียในสหรัฐฯ 101 ถอดรหัส ‘อาชญากรรมจากความเกลียดชัง’ ต่อคนเอเชียว่า อะไรคือสิ่งที่ซ่อนอยู่ใต้ปลายยอดภูเขาน้ำแข็ง อะไรที่ปิดตาสังคมอเมริกันว่า อาชญากรรมจากความเกลียดชังและการเหยียดคนเอเชียนั้นไม่มีอยู่จริงในสหรัฐฯ

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 May 2021

World

4 May 2021

แรงงานเศรปาบนเทือกเขาของนอร์เวย์

ปรีดี หงษ์สต้น พาสำรวจเบื้องหน้าและเบื้องหลังของนอร์เวย์ในฐานะผู้บุกเบิกเรื่องสิ่งแวดล้อมและสันติภาพโลก ชวนเราไปรู้จักกับ ‘แรงงานเศรปา’ ชาติพันธุ์พื้นเมืองที่ใช้ชีวิตกับธรรมชาติ

ปรีดี หงษ์สต้น

4 May 2021

World

3 May 2021

Digital India ก้าวสู่สังคมออนไลน์ที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เล่าถึง การเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมดิจิทัลของอินเดียภายใต้นโยบาย ‘Digital India’ ที่ช่วยไม่ให้อินเดียหลุดออกจากกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและพาคนอินเดียก้าวเดินไปสู่โลกแห่งอนาคตอย่างเท่าเทียม

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

3 May 2021

World

30 Apr 2021

มองสิงคโปร์ย้อนมองไทย… เมื่อสิงคโปร์ถอดบทเรียนโควิด ยกเครื่องการจัดการแรงงานข้ามชาติ

101 พาไปมองวิสัยทัศน์ของรัฐบาลสิงคโปร์ที่ถอดบทเรียนจากวิกฤตโควิดสู่การปฏิรูปแรงงานข้ามชาติระยะยาว พร้อมคุยกับผู้เชี่ยวชาญทั้งในไทยและสิงคโปร์ เพื่อนำบทเรียนจากสิงคโปร์ มาสู่ข้อเสนอแนะปฏิรูปแรงงานข้ามชาติในไทย

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

30 Apr 2021

World

28 Apr 2021

เหตุการณ์ที่ดุซงญอ เดือนเมษายน ปี 2491: กบฏดุซงญอ สงครามดุซงญอ หรือ ดุซงญอลุกขึ้นสู้?

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ดุซงญอ หนึ่งในประวัติศาสตร์บาดแผลของชาวมลายูปาตานี ที่ปัจจุบันยังมีความไม่ลงรอยกัน และมีการจำรวมถึงเล่าเหตุการณ์ที่แตกต่างกันมากมาย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

28 Apr 2021

World

26 Apr 2021

‘ฟิลิป’ ราชนิกูลพลัดถิ่น ผู้ปฏิรูปราชวงศ์วินด์เซอร์

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงชีวิตของ เจ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินบะระ อันมีผลงานสำคัญคือการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ให้ปรับตัวเข้ากับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

สมชัย สุวรรณบรรณ

26 Apr 2021

World

26 Apr 2021

เกมการยั่วแหย่ในยุทธศาสตร์ข้อพิพาททะเลจีน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกลวิธีสีเทาที่จีนกำลังใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ นั่นคือการ ‘ยั่วแหย่’ ทางทะเลต่อชาติคู่อริในทะเลจีน โดยมองญี่ปุ่นเป็นกรณีศึกษา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

26 Apr 2021

Europe

26 Apr 2021

De omnibus dubitandum : มาร์กซ์บอกให้ตั้งคำถามกับทุกสิ่ง…ยกเว้นที่ปรึกษา

คอลัมน์ ‘ช่วยด้วยเพื่อนฉันเป็นฝ่ายซ้าย’ ตอนใหม่ พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง เขียนถึง เอียน ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์สุดเขี้ยว ผู้มีนิสัยชอบหลบตาคน และ ‘ฝ่ายซ้าย’ ผู้มองว่า “มาร์กซิสม์ในฐานะโครงการทางการเมืองจบไปแล้วในทางประวัติศาสตร์” แต่แปะรูปคาร์ล มาร์กซ์หราไว้หน้าห้องทำงาน (!?)

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

26 Apr 2021

Documentary

22 Apr 2021

เส้นสมมติสาละวิน : ชายแดนชีวิตผู้ลี้ภัยกะเหรี่ยง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย และเมธิชัย เตียวนะ ลงพื้นที่สำรวจริมแม่น้ำสาละวินที่บ้านแม่สามแลบ ใกล้บริเวณค่ายผู้อพยพชาวกะเหรี่ยง ที่หนีจากเหตุการณ์สู้รบระหว่าง KNU และทหารพม่า

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

22 Apr 2021

World

22 Apr 2021

ท่าทีอาเซียน ก่อนการประชุมสุดยอดนัดพิเศษกรณีเมียนมา

ปิติ ศรีแสงนาม วิเคราะห์การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนนัดพิเศษ ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 24 เมษายน เกี่ยวกับกรณีรัฐประหารเมียนมา

ปิติ ศรีแสงนาม

22 Apr 2021

World

22 Apr 2021

ประชาคมโลกจะรับผิดชอบในการคุ้มครองพม่าอย่างไร?

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงมาตรการจากประชาคมโลก ที่จะช่วยเหลือประชาชนชาวพม่า จากการปราบปรามของรัฐบาลทหารพม่า ซึ่งอาจไม่ได้จบแค่การคว่ำบาตรหรือออกแถลงการณ์เท่านั้น

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

22 Apr 2021

World

20 Apr 2021

ผ่าความคิดชาติพันธุ์กะเหรี่ยง กลางไฟขัดแย้ง รัฐประหาร และการลี้ภัย กับ จิราพร เหล่าเจริญวงศ์

101 คุยกับ ดร.จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ เพื่อเจาะลึกมุมมองชาติพันธุ์ต่างๆ โดยเฉพาะกะเหรี่ยง ที่มีต่อการรัฐประหารพม่า พร้อมมองลึกถึงชีวิตกลางไฟความขัดแย้งเรื้อรังใต้การปกครองของกองทัพพม่า สู่ชีวิตผู้ลี้ภัยในรั้วแดนไทย

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

20 Apr 2021
1 43 44 45 89

MOST READ

Global Affairs

29 Feb 2024

อย่าให้ทฤษฎีเป็นนายเรา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดสนทนาว่าด้วยหลากวิธีในการใช้ทฤษฎีเพื่อศึกษาการเมืองระหว่างประเทศ และข้อพึงระวังเพื่อไม่ให้ติดทฤษฎีกลายเป็นนายเรา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

29 Feb 2024

World

29 Feb 2024

มองผ่านน้ำตาท่านผู้นำ: ปัญหาอัตราเกิดต่ำในเกาหลีเหนือและนโยบายเพิ่มประชากรประเทศคอมมิวนิสต์

มัธธาณะ รอดยิ้ม พาไปย้อนดูนโยบายส่งเสริมการมีลูกของประเทศคอมมิวนิสต์ในอดีต เมื่อแนวคิดสวัสดิการส่งผลดีต่อการคิดจะมีลูก แต่ก็ไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่ทำให้คนตัดสินใจมีลูก

มัธธาณะ รอดยิ้ม

29 Feb 2024

World

5 Mar 2024

ญี่ปุ่นกับเงินซุกมุ้งใน LDP ที่กำลังเป็นกรณีอื้อฉาวใหม่ทางการเมือง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกรณี ‘เงินซุกมุ้ง’ ที่เป็นเรื่องอื้อฉาวระลอกใหม่ของพรรค LDP เพื่อเปิดไปสู่ ‘การเมืองเรื่องมุ้ง’ ในภาพใหญ่ ว่ามีความเป็นมาอย่างไรและมีบทบาทหน้าที่อะไรถึงได้กลายเป็นแบบแผนและสถาบันภายในพรรค LDP เรื่อยมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

5 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save