fbpx

Global Affairs

19 Aug 2021

การคะเนพลาดในประวัติศาสตร์สงคราม

ในวาระครบรอบ 76 ปีสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ‘การคะเนพลาด’ ในยุทธศาสตร์สงครามของทั้งชาติฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่านอักษะจนกลายเป็นหุบเหวไปสู่มหาสงคราม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

19 Aug 2021

World

17 Aug 2021

โรคระบาด-อำนาจ-การเมือง: ผ่าอาเซียนกลางมรสุมโควิด-19

ภายใต้ตัวเลขผู้ติดเชื้อที่พุ่งขึ้นสูงทุกวัน คำถามสำคัญคือ สิ่งนี้คลี่ให้เห็นปัญหาการเมืองและปัญหาเชิงโครงสร้างอะไรบ้างที่ซ่อนอยู่? 101 สนทนากับ รศ.ดร.นฤมล ทับจุมพล, ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง, รศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร และผศ.ดร.อรอนงค์ ทิพย์พิมล ว่าด้วยสถานการณ์การระบาดโควิดระลอกเดลตาที่เผยให้เห็นถึงการเมืองแบบ ‘อาเซียนๆ’ ในมาเลเซีย พม่า อินโดนีเซีย และเวียดนาม

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

17 Aug 2021

Thailand: The Great Reset

16 Aug 2021

Remake โลกสู่เวอร์ชันใหม่ บนโลกปัจจุบันอันไร้ความแน่นอน กับ สันติธาร เสถียรไทย

101 ชวนสันติธาร เสถียรไทย คุยถึงเทรนด์โลกหลังโควิด พร้อมชวนคิดว่าเราจะก้าวข้ามวิกฤตอย่างไร และจะ Remake ประเทศไทยอย่างไรให้ตอบโจทย์โลกอนาคตที่จะเปลี่ยนโฉมไปถาวร

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

16 Aug 2021

World

16 Aug 2021

การกลับมามีอำนาจของตาลีบันในอัฟกานิสถาน: ความเปลี่ยนแปลงในเครื่องหมายคำถาม?

หลังการประกาศยึดกรุงคาบูลของกลุ่มตาลีบัน ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ต้นธารความขัดแย้งในอัฟกานิสถานที่นำไปสู่การกลับขึ้นมามีอำนาจอีกครั้งของกลุ่มตาลีบัน พร้อมทั้งมองฉากทัศน์ความเป็นไปได้ของอัฟกานีสถานในอนาคต

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

16 Aug 2021

ASEAN บ่มีไกด์

11 Aug 2021

ASEAN บ่มีไกด์ Ep.5: #saveร้านอาหาร Street Food ต้องรอด! ดูวิธีต่อชีวิตมรดกโลกแบบสิงคโปร์ในยุคโควิด

‘ASEAN บ่มีไกด์’ พาทุกคนเดินทางไปที่สิงคโปร์ ไปดูกันว่าที่นั่นช่วยเหลือเยียวยากิจการร้านอาหาร Street Food ที่ถือว่าเป็น ‘มรดกโลก’ อย่างไรบ้าง

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

11 Aug 2021

World

9 Aug 2021

พลังงานสะอาดเป็นไพ่ยุทธศาสตร์ใบใหม่ของจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ยุทธศาสตร์พัฒนาพลังงานสะอาดของจีน ยุทธศาสตร์ที่ทำให้จีน ‘ยิงนัดเดียวได้นกหลายตัว’ พร้อมกัน เพราะกำหนดทั้งอนาคตเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงของชาติ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

9 Aug 2021

World

6 Aug 2021

จากสยาม 1902 ถึงสหรัฐฯ 1619 : การเดินทางของความทรงจำของคนเล็กๆ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนอ่านประวัติศาสตร์ ‘กบฏเงี้ยว’ ซึ่งถูกเขียนให้เป็นศัตรูในประวัติศาสตร์ชาติกระแสหลัก อันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับคนผิวดำในอเมริกาเช่นกัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

6 Aug 2021

Asia

6 Aug 2021

ญี่ปุ่นกับความท้าทาย เมื่อพระอาทิตย์กำลังขึ้นทางทิศตะวันตก

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความท้าทายทางสังคมที่ญี่ปุ่นกำลังเผชิญและต้องก้าวข้าม จากทั้งสังคมสูงวัย ระบบอาสุโส วัฒนธรรมการทำงานหนัก วัฒนธรรมรวมหมู่ จนไปถึงสังคมชายเป็นใหญ่

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

6 Aug 2021

World

6 Aug 2021

โบโกต้า, โคลอมเบีย: ประวัติศาสตร์การพัฒนาพื้นที่สาธารณะตามแนวคิดของเยอร์เก้น ฮาเบอร์มาส

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงแนวคิดเรื่องพื้นที่สาธารณะ ของเยอร์เก้น ฮาเบอร์มาส ซึ่งมีส่วนสำคัญในนโยบายการพัฒนาพื้นที่สาธารณะซึ่งถูกนำมาใช้พัฒนาเมืองโบโกต้า ประเทศโคลอมเบีย

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

6 Aug 2021

Global Affairs

5 Aug 2021

ตามแนวคิด-ต่อทฤษฎี จากงานการต่างประเทศไทยของพีระ เจริญวัฒนนุกูล (ตอนที่ 1)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่านแนวคิด ‘ความมั่นคงเชิงภวสภาพ’ ที่มองว่าปัญหาความมั่นคงของรัฐเชื่อมโยงกับแผลในใจของสังคมที่รู้สึกว่าเกียรติภูมิของประเทศชาติบ้านเมืองของตนถูกกระทบกระทั่งโดยอำนาจภายนอกที่เหนือกว่าเข้ามาบังคับ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

5 Aug 2021

World

4 Aug 2021

แด่มัลคอล์ม เพื่อนผู้เป็นทั้งฝ่ายซ้ายและคนเวร

คอลัมน์ ‘ช่วยด้วยเพื่อนฉันเป็นฝ่ายซ้าย’ ตอนใหม่ พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง เขียนถึง ‘มัลคอล์ม’ เพื่อนฝ่ายซ้ายผู้เชื่อว่าความสัมพันธ์แบบ polyamory คือรูปแบบความสัมพันธ์ที่เหมาะกับยุคทุนนิยมตอนปลาย รักการสัก (ทั้งตัวเองและคนอื่น) เป็นชีวิตจิตใจ และมักจะอวดอ้างเสมอว่าตัวเองมีวัยเด็กที่ ‘ใกล้ชิดกับพระเจ้า’ (?!)

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

4 Aug 2021

World

2 Aug 2021

เปิดบทเรียนโลกาภิบาลในห้วงยามโรคระบาด: กติกาโลกใหม่จะเป็นอย่างไรในยุคโควิด-19?

101 ชวนอ่านทรรศนะของผู้เชี่ยวชาญจากหลายวงการ เกี่ยวกับกติกาโลกในยุคโรคระบาด และแนวโน้มเศรษฐกิจการเมืองโลกในยุคที่มหาอำนาจแบ่งฝ่ายกันอย่างชัดเจน

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

2 Aug 2021

World

28 Jul 2021

“จุดแข็งของเราคือพลังประชาชน” คุยกับกองกำลังประชาชนพม่า ในวันที่ต้องจับอาวุธขึ้นสู้ด้วยตัวเอง

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา คุยกับกองกำลังประชาชนในพม่า เจาะลึกถึงการเคลื่อนไหว เป้าหมาย และความหวัง ในวันที่ประชาชนต้องจับอาวุธขึ้นสู้กับทหารด้วยตัวเอง

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

28 Jul 2021

World

27 Jul 2021

‘Englishness’ คืออะไร? เมื่อทีมชาติฟุตบอลอังกฤษสะท้อนค่านิยมสังคมก้าวหน้า

หลังทีมชาติอังกฤษพ่ายแพ้ในรอบชิงฟุตบอลยูโร นำไปสู่คลื่นการเหยียดเชื้อชาติ-สีผิวของแฟนบอลผู้ผิดหวังกับนักเตะผิวดำสามคนที่ยิงลูกโทษพลาด ปรากฏการณ์นี้นำไปสู่คำถามต่อการนิยาม ‘Englishness’

สมชัย สุวรรณบรรณ

27 Jul 2021

World

26 Jul 2021

ความยืดหยุ่นแต่มั่นคงของช่างไม้เดนมาร์กสมัยก่อน

คอลัมน์ #เลียบขั้วโลก ตอนใหม่ ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงระบบ ‘ยืดหยุ่นแต่มั่นคง’ ระบบทางสังคมที่ประกันคุณภาพชีวิตของแรงงานไปพร้อมกับการเติบโตของตลาด

ปรีดี หงษ์สต้น

26 Jul 2021
1 40 41 42 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

World

27 Mar 2024

ทำไมเราถึงสนใจชีวิตของคนในราชวงศ์ (อังกฤษ) กันนักนะ

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ชวนสำรวจความสนใจที่ผู้คนมีต่อราชวงศ์อังกฤษ อะไรที่ทำให้ราชวงศ์วินด์เซอร์เป็นที่สนใจของผู้คนกลุ่มใหญ่มากมายถึงเพียงนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save