fbpx

World

21 Mar 2022

ว่าด้วยรัสเซีย-สแกนดิเนเวียในประวัติศาสตร์ช่วงยาววว

ภายใต้บริบทสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครนที่กำลังคุกรุ่น ในคอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ปรีดี หงษ์สต้น สำรวจประวัติศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับสแกนดิเนเวียในอดีตและปัจจุบัน

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Mar 2022

Global Affairs

16 Mar 2022

ผลกระทบและแนวทางการรับมือของไทยจากสถานการณ์สงครามในยูเครน

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองผลกระทบของสงครามรัสเซีย-ยูเครน ที่มีต่อประเทศไทย ทั้งในแง่เศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศ พร้อมเสนอแนะแนวทางการรับมือ

ปิติ ศรีแสงนาม

16 Mar 2022

Asean

16 Mar 2022

“จีน่าที่รัก หวังว่าคุณคงสบายดี” – จดหมายน้อยคุณป้าสายลับมาเลเซีย

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง เล่าเรื่องของสายลับสาวมาเลเซียนาม ฮาซานะห์ อับดุล ฮามิด ผู้ที่สร้างแรงสั่นสะเทือนต่อสังคมการเมืองมาเลเซีย

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

16 Mar 2022

World

15 Mar 2022

โตเกียวเสียขวัญ เมื่อเสียงปืนสนั่นฟ้ายูเครน

เมื่อสงครามรัสเซีย-ยูเครน สร้างแรงสั่นสะเทือนต่อทั่วโลก ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ระเบียบความมั่นคงบนกลไกการป้องปรามที่สั่นคลอนในเอเชียตะวันออก ซึ่งก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและไม่ไว้เนื้อเชื่อใจในระบบพันธมิตรระหว่างญี่ปุ่น-สหรัฐฯ อันเป็นผลจากการรับประกันความมั่นคงและการตอบสนองที่ล้มเหลวของชาติพันธมิตรยุโรปและสหรัฐฯ ในวิกฤตยูเครน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

15 Mar 2022

World

10 Mar 2022

คีฟ (Kyiv) หรือ เคียฟ (Kiev) – การเอ่ยนามนั้นสำคัญใช่ไหมล่ะ

ณภัค เสรีรักษ์ ชวนคุยถึงการเมืองเรื่องภาษา เมื่อการเลือกใช้คำ สะกดคำ หรือออกเสียงคำเรียกสิ่งต่างๆ ย่อมสัมพันธ์กับการเมือง เช่น ชื่อเมืองหลวง

ณภัค เสรีรักษ์

10 Mar 2022

World

9 Mar 2022

ถอดรหัสวิกฤตรัสเซีย-ยูเครนผ่านเอเชียตะวันออกและอาเซียน

101 ชวนมองวิกฤตรัสเซีย-ยูเครน ไล่เรียงตั้งแต่ที่มาที่ไป โดยเฉพาะในมุมมองของรัสเซีย ท่าทีของรัฐในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงการคาดการณ์แนวโน้มในอนาคตที่อาจเกิดขึ้นได้สำหรับสงครามครั้งนี้

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

9 Mar 2022

World

8 Mar 2022

ปูติน ‘รีเซ็ต’ ระเบียบโลก แต่ดันเข้าทางสหรัฐฯ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงในระเบียบโลกที่ถูกสั่นคลอนโดยสงครามรัสเซีย-ยูเครน ซึ่งย้อนศรความตั้งใจของรัสเซียที่จะ ‘รีเซ็ต’ ระเบียบโลกให้เข้าทางรัสเซีย-จีน นำไปสู่ความได้เปรียบของสหรัฐฯ และโลกสองขั้วที่แยกห่างออกจากกันยิ่งขึ้น

อาร์ม ตั้งนิรันดร

8 Mar 2022

Asia

7 Mar 2022

ส่องสนามเลือกตั้งประธานาธิบดีเกาหลีใต้ 2022

เสกสรร อานันทศิริเกียรติ พามองสนามเลือกตั้งประธานาธิบดีเกาหลีใต้ 2022 เปรียบเทียบพื้นเพ ภาพลักษณ์ และวิสัยทัศน์ของผู้สมัครเด่นๆ ก่อนที่การเลือกตั้งจะมีขึ้นในวันที่ 9 มีนาคมนี้

เสกสรร อานันทศิริเกียรติ

7 Mar 2022

World

7 Mar 2022

“ผมใช้ค้อนตอกภาพวาดที่หน้าต่างไว้กันระเบิด”: เสียงและเลือดเนื้อประชาชนกลางไฟสงครามรัสเซีย-ยูเครน

ท่ามกลางไฟสงครามรัสเซีย-ยูเครน ด้วยความช่วยเหลือจาก อาเท็ม โพโนมาเรสฟกี สื่อชาวยูเครน 101 ชวนฟัง ‘เสียง’ และ ‘เรื่องราว’ ของประชาชนชาวยูเครนจาก Chernihiv และ Sumy สองแคว้นทางภาคเหนือของยูเครน และกรุงคีฟ – สามแนวรบสำคัญที่ตกอยู่ภายใต้วงล้อมและการโจมตีของกองทัพรัสเซีย

กองบรรณาธิการ

7 Mar 2022

Latin America

7 Mar 2022

โมเดลความร่วมมือของภาคประชาสังคมเพื่อลดปัญหาความรุนแรงในลาตินอเมริกา: กรณึศึกษาเมืองเมะเดยีน ประเทศโคลอมเบีย (ตอนที่ 1)

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เล่าถึงเมืองเมะเดยีน ประเทศโคลอมเบีย ที่ประสบความสำเร็จในการลดความรุนแรงในเมือง ด้วยการใช้ความร่วมมือของภาคประชาสังคม จนเป็นหนึ่งในเมืองต้นแบบของโลก

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

7 Mar 2022

World

4 Mar 2022

‘ชุมชนจินตกรรม’ ของวลาดิเมียร์ ปูติน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงเหตุผลการบุกยูเครนของรัสเซียผ่านรากความเชื่อทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นแก่นคิดของปูตินที่ใช้ในการปกครองเสมอมา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

4 Mar 2022

World

2 Mar 2022

อาชญากรรมรุกราน (crime of aggression)

ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงอาชญากรรมรุกราน (crime of aggression) กรณีข้อพิพาทระหว่างรัสเซียกับยูเครนซึ่งทำท่าจะลุกลามบานปลายว่าผิดกฎหมายและสนธิสัญญาระหว่างประเทศอย่างไรบ้าง

ปกป้อง ศรีสนิท

2 Mar 2022

World

2 Mar 2022

ก้าวต่อไปของสงครามรัสเซีย-ยูเครน: โลกบนเส้นบางๆ ระหว่าง ‘สงคราม’ และ ‘สันติภาพ’

ล่วงเข้าสู่วันที่หกของการบุกโจมตียูเครน ในช่วงเวลาที่อุณหภูมิความตึงเครียดระหว่างยูเครนและรัสเซียยังคงไม่มีท่าทีที่จะเย็นลง ควบคู่ไปกับความพยายามในการเปิดประตูการเจรจา 101 ชวนถอดรหัส ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ท่ามกลางสภาวะฝุ่นตลบ ผ่านมุมมองแบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจาก จิตติภัทร พูนขำ อาจารย์ประจำสาขาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

2 Mar 2022

World

2 Mar 2022

การศึกษานโยบายต่างประเทศไทยตาม research program ontological security ของอาจารย์พีระ เจริญวัฒนนุกูล (หรือ ตามแนวคิด – ต่อทฤษฎี ฯ ตอนที่ 3)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการสร้างองค์ความรู้ในวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยใช้ research program ผ่านหนังสือของพีระ เจริญวัฒนนุกูล

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

2 Mar 2022
1 31 32 33 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save