fbpx

World

18 Apr 2022

วิกฤตเศรษฐกิจศรีลังกา ปัญหาเรื้อรังที่มากกว่าเรื่องกับดักหนี้จีน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงเบื้องหลังวิกฤตเศรษฐกิจครั้งล่าสุดในศรีลังกา ที่สะสมจากโครงสร้างเศรษฐกิจที่อ่อนแอ นโยบายการเงินการคลังที่ผิดพลาดจนเกิดหนี้มหาศาลมาเป็นเวลายาวนาน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

18 Apr 2022

Asean

11 Apr 2022

สงครามภาษา – Bahasa Melayu VS Bahasa Indonesia

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง เล่าถึงข้อโต้แย้งระหว่างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย เรื่องการผลักดันภาษามลายูเป็นภาษาทางการอีกภาษาของอาเซียน พร้อมย้อนมองปมประวัติศาสตร์และแรงจูงใจทางการเมือง

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

11 Apr 2022

World

11 Apr 2022

กองทัพพระราชา-กองทัพประชาชน: ว่าด้วยอุดมการณ์ทหารไทยและพม่า

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี สำรวจลักษณะทางอุดมการณ์ของกองทัพพม่าและไทย ซึ่งมีบทบาทมากในการควบคุมและแทรกแซงการเมืองในปัจจุบัน

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

11 Apr 2022

Asia

7 Apr 2022

เข้าใจความเป็นกลางแบบอินเดีย ท่ามกลางวิกฤตรัสเซีย-ยูเครน

ภาสกร ธรรมโชติ ชวนทำความเข้าใจท่าทีของอินเดีย ที่เลือกวางตัวเป็นกลางท่ามกลางวิกฤตความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน

ภาสกร ธรรมโชติ

7 Apr 2022

World

6 Apr 2022

ปูตินไม่ชนะ แต่อาจไม่แพ้

อาร์ม ตั้งนิรันดร์ วิเคราะห์ถึง สงครามยืดเยื้อระหว่างรัสเซีย-ยูเครนว่าคือ ‘ความเพลี่ยงพล้ำแต่ไม่พ่ายแพ้’ ของรัสเซีย เพราะมองว่าตนเองสามารถบรรลุเป้าหมายปฏิบัติการทางการทหารได้ในระดับหนึ่ง และยังมีเดิมพันต่อโลกตะวันตกว่าจะทนผลย้อนกลับจากมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจได้หรือไม่

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Apr 2022

Latin America

5 Apr 2022

โมเดลความร่วมมือของภาคประชาสังคมเพื่อลดปัญหาความรุนแรงในลาตินอเมริกา: กรณึศึกษาเมืองเมะเดยีน ประเทศโคลอมเบีย (ตอนที่ 2)

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เล่าถึงความสำเร็จของเมืองเมะเดยีน ประเทศโคลอมเบีย ที่ประสบความสำเร็จในการลดความรุนแรงในเมือง ด้วยการสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ภายใต้แนวคิดการคืนความเป็นสาธารณะ

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

5 Apr 2022

World

4 Apr 2022

‘สหภาพยูเรเชีย’: จักรวรรดิจินตกรรมของปูติน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงมโนทัศน์ของปูตินเรื่องจักรวรรดิจินตกรรมในนามของ ‘สหภาพยูเรเชีย’ ผ่านประวัติศาสตร์สังคมการเมืองของรัสเซีย

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

4 Apr 2022

World

1 Apr 2022

‘เสถียรภาพในความขัดแย้ง’: บทบาทของอาวุธนิวเคลียร์ในสงครามรัสเซีย-ยูเครน

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา วิเคราะห์พฤติกรรมการไม่แทรกแซงของมหาอำนาจตะวันตกที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ในวิกฤตการณ์รัสเซีย-ยูเครน ผ่านแนวคิด ‘ความย้อนแย้งของความมีเสถียรภาพ-ความไร้เสถียรภาพ’ (stability-instability paradox)

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

1 Apr 2022

PopCapture

30 Mar 2022

ไม่มีรัสเซียในอุตสาหกรรมหนัง เกม และฟุตบอล เมื่อโลกพร้อมใจกันหันหลังให้รัสเซีย

ภายใต้บริบทสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่ยังระอุอยู่ทุกขณะ เมื่อโลกพร้อมใจกันคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจรัสเซียเพื่อแสดงจุดยืนต่อต้านการรุกราน และคอลัมน์ PopCapture ก็พาสำรวจโลกของการคว่ำบาตร ที่มีมากกว่าด้านการเงิน แต่หมายรวมถึงด้านวัฒนธรรมที่ชวนบาดเจ็บไม่แพ้กันด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

30 Mar 2022

Life & Culture

30 Mar 2022

ระลึกถึง Madeleine Albright (1937 – 2022)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนระลึกถึง Madeleine Albright อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งถึงแก่อนิจกรรม และชวนสำรวจความกังวลต่อลัทธิฟาสซิสต์ ซึ่งเป็นความกังวลสุดท้ายในชีวิตเธอ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

30 Mar 2022

World

28 Mar 2022

Crisis beyond Ukraine: มองวิกฤตมนุษยธรรม-กฎหมายระหว่างประเทศ-ความมั่นคง ผ่านสงครามรัสเซีย-ยูเครน

101 ชวนถอดรหัส ‘วิกฤต’ ที่ไกลกว่าวิกฤตความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ทำไมกลไกกฎหมายระหว่างประเทศที่ควรจะรักษาสันติภาพโลกเอาไว้จึงล้มเหลว? การเมืองมหาอำนาจจะเดินหน้าไปทางไหนต่อ? และที่สำคัญที่สุดยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด ‘มนุษย์’ อยู่ตรงไหนในสมการความขัดแย้งครั้งนี้?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Mar 2022

Asia

28 Mar 2022

เมื่อพรรค BJP และชาตินิยมฮินดูยังได้ไปต่อ(?): สังเกตการณ์การเมืองอินเดียหลังการเลือกตั้งระดับรัฐ

ศิวศิลป์ จุ้ยเจริญ วิเคราะห์ผลการเลือกตั้งระดับรัฐของอินเดียช่วงต้นปี 2022 ซึ่งบ่งบอกถึงความนิยมในพรรครัฐบาลบีเจพีที่ยังแข็งแกร่ง และแนวคิดชาตินิยมฮินดูที่กำลังขยายตัว

ศิวศิลป์ จุ้ยเจริญ

28 Mar 2022

World

25 Mar 2022

‘เราจะต่อสู้ในทุกพื้นที่และเราจะไม่ยอมแพ้’ เมื่อผู้นำยูเครนใช้พลังวาทศิลปสู้นาซีของวินสตัน เชอร์ชิล เพื่อปลุกใจนักสู้ผู้ปกป้องมาตุภูมิ 

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงสุนทรพจน์ของโวโลดีเมียร์ เซเลนสกี้ ประธานาธิบดียูเครนที่หยิบยกเอาบทประพันธ์ของเชกสเปียร์และคำปลุกใจของวินสตัน เชอร์ชิล อดีตนายกรัฐมนตรีอังกฤษ มากล่าวกับประเทศอื่นๆ เพื่อขอรับแรงสนับสนุนในสถานการณ์ความขัดแย้งกับรัสเซีย

สมชัย สุวรรณบรรณ

25 Mar 2022

World

25 Mar 2022

อ่านศึกเลือกตั้งระดับรัฐของอินเดีย ความพ่ายแพ้ยับเยินของพรรคคองเกรส

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์ผลการเลือกตั้งระดับรัฐใน 5 รัฐของอินเดีย ที่สะท้อนถึงความแข็งแกร่งของพรรคบีเจพี ความโรยราของพรรคองเกรส และภูมิทัศน์ทางการเมืองอินเดียที่ค่อยๆ เปลี่ยนแปลงไป

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 Mar 2022

Global Affairs

22 Mar 2022

บทเรียนจากการถล่มเลนินกราดถึงสมรภูมิเคียฟ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เล่าย้อนเมื่อคราวเที่ยวรัสเซียปี 2017 รำลึกถึงประวัติศาสตร์อันขมขื่นของรัสเซียช่วงที่โดนบุกโดยกองทัพนาซีเยอรมันช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อันสะท้อนภาพถึงสิ่งที่ยูเครนกำลังเผชิญในปัจจุบัน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

22 Mar 2022
1 30 31 32 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save