fbpx

Asia

8 Jun 2022

“เราจะเป็นหลักประกันความมั่นคงและมั่งคั่งให้กับโลก” เปิดวิสัยทัศน์อินเดียในปีที่ 75 กับทูตอินเดียประจำประเทศไทย

101 สนทนากับทูตอินเดียประจำประเทศไทย Suchitra Durai ถึงวิสัยทัศน์ของอินเดีย และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-อินเดีย ในวาระครบรอบ 75 ปี

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

8 Jun 2022

Politics

7 Jun 2022

เลือกตั้ง ‘ดาวน์อันเดอร์’ กับความหวังของการเปลี่ยนแปลง

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึงการเลือกตั้งใหญ่ครั้งล่าสุดของออสเตรเลียเมื่อกลางเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา โดยพรรคแรงงานได้คะแนนเสียงมากกว่าพรรครัฐบาล ชวนให้ติดตามนโยบายและการแก้ปัญหาสางปมต่างๆ ของออสเตรเลีย ตั้งแต่ความเหลื่อมล้ำ, ชาติพันธุ์ จนถึงภัยธรรมชาติ

นิติ ภวัครพันธุ์

7 Jun 2022

World

7 Jun 2022

วิชาเลือกเสรี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงศิลปศาสตร์ของผู้นำทางการเมือง ซึ่งเกี่ยวโยงถึง 3 วิธีอ่านหนังสือการเมืองการปกครองไทย: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (พ.ศ. 2475 – 2540) ของภูริ ฟูวงศ์เจริญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

7 Jun 2022

World

7 Jun 2022

เก็บตก 4 ประเด็นใหญ่: สหรัฐฯ มองเห็นอะไรจากการประชุมซัมมิตอาเซียน-สหรัฐฯ

101 เก็บตกบทสนทนาโต๊ะกลมระหว่างไมเคิล ฮีธ รักษาการเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศไทย กับคณะสื่อว่าด้วยเรื่องการปักหมุดความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียนใหม่ในศตวรรษที่ 21

กองบรรณาธิการ

7 Jun 2022

World

6 Jun 2022

ความรุนแรงในสังคมลาตินอเมริกา: กรณีตัวอย่างโคลอมเบีย

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ชวนมองเรื่องความรุนแรงในสังคมโคลอมเบียที่เชื่อมโยงกับวิธีคิดทางเพศ เมื่อปัญหาความรุนแรงและขบวนการยาเสพติดล้วนตั้งอยู่บนแนวคิดชายเป็นใหญ่ การเคารพ และการมีอำนาจเหนือผู้หญิง

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

6 Jun 2022

World

3 Jun 2022

เชื่อมความรู้ สู่การเปลี่ยนแปลงนโยบายการต่างประเทศที่ก้าวทันโลก คุยกับ อนุสนธิ์ ชินวรรโณ ศูนย์ศึกษาการต่างประเทศ

ในห้วงเวลาที่การต่างประเทศไทยเผชิญต่อความท้าทายครั้งสำคัญ 101 สนทนากับ ดร.อนุสนธิ์ ชินวรรโณ ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการต่างประเทศ ถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกและการปรับปรุงนโยบายการต่างประเทศไทยด้วยองค์ความรู้ ไปจนถึงเอกภาพของการต่างประเทศไทยและนโยบายการทูตแบบไม้ไผ่กลางความผันผวน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

3 Jun 2022

World

3 Jun 2022

เมื่อสันติวิธีคือความผิดบาป: อ่านชีวิต ‘จ้าวจื่อหยาง’ นักปฏิรูปหัวก้าวหน้ากับอิสรภาพที่หายไปในเทียนอันเหมิน 1989

เรื่องราวชีวิตของจ้าวจื่อหยาง อดีตผู้นำในพรรคคอมมิวนิสต์จีน ที่ถูกคุมขังจนวันสุดท้ายของชีวิต เพราะเข้าเจรจากับนักศึกษาที่จัตุรัสเทียนอันเหมินปี 1989

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

3 Jun 2022

World

2 Jun 2022

กระสุนลั่นกลางโรงบรรเลงดุริยางค์: ลัทธิปัจเจกชนสุดขั้วกับการขยายตัวเองของระบบทุนนิยม

จากเหตุกราดยิงในอเมริกา ธเนศ อาภรณ์สุวรรณวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมรุนแรงโดยมองผ่านพัฒนาการทางสังคมอเมริกานับแต่อดีต

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Jun 2022

World

1 Jun 2022

จีนต้องการอะไรจากสหรัฐฯ และทำไมสหรัฐฯ ให้จีนไม่ได้

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง คำขอของจีนต่อสหรัฐฯ ที่ไม่ต้องการให้สหรัฐฯ ขัดแย้งและต่อต้านจีน ซึ่งสหรัฐฯ ให้ไม่ได้

อาร์ม ตั้งนิรันดร

1 Jun 2022

World

31 May 2022

คอสโมนอตคนแรกแห่งอุษาคเนย์: โซเวียตกับการช่วยสร้างชาติเวียดนาม

เรื่องราวของ’ฟัม ต๋วน’ นักบินจากกองทัพอากาศเวียดนาม เป็นชาวเอเชียคนแรกที่ขึ้นสู่ห้วงอวกาศในฐานะ ‘คอสโมนอต’ ของสหภาพโซเวียต

มัธธาณะ รอดยิ้ม

31 May 2022

World

30 May 2022

เจ็บกี่ครั้งก็ยังไม่จบง่าย: เกาะเหนือที่ญี่ปุ่นอ้างกรรมสิทธิ์ในวิกฤตยูเครน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงของท่าทีญี่ปุ่นต่อรัสเซียที่สะท้อนผ่านกรณีข้อพิพาทดินแดนทางตอนเหนือกลางวิกฤตยูเครน จากที่มีท่าทีรอมชอม ยอมประสานผลประโยชน์กับรัสเซียเพื่อให้ดำเนินการเจรจาได้อย่างราบรื่น ไปสู่ท่าทีที่ ‘แน่วแน่’ สละความคืบหน้าในการแก้ไขข้อพิพาทเพื่อร่วมจัดการวิกฤตและรักษาผลประโยชน์ของระเบียบโลกไว้

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

30 May 2022

World

27 May 2022

ความฝันที่ข้ามพ้นชาติ ชนชั้น และเพศ : เรื่องของครู พลแม่นปืน และนักปฏิวัติที่ชื่อ ‘มาร์กาเร็ต สกินนิเดอร์’

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เล่าเรื่องราวของ ‘มาร์กาเร็ต สกินนิเดอร์’ นักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสตรีและนักปฏิวัติชาวไอริชผู้ต่อสู้เพื่อเอกราชของไอร์แลนด์

อติเทพ ไชยสิทธิ์

27 May 2022

World

25 May 2022

จากเลือกตั้งฟิลิปปินส์ถึงการเมืองไทย ในวันที่ ‘มาร์กอส’ ผงาดอีกครั้ง กับ อัครพงษ์ ค่ำคูณ

การเลือกตั้งฟิลิปปินส์ที่ผ่านมาทำให้ตระกูล ‘มาร์กอส’ กลับมาในฐานะผู้นำคนใหม่ 101 ชวน ผศ. อัครพงษ์ ค่ำคูณ มองอนาคตการเมืองฟิลิปปินส์ สถานการณ์ประชาธิปไตยในอาเซียน และบทเรียนถึงการเมืองไทย

กองบรรณาธิการ

25 May 2022

World

24 May 2022

คังคุไบ: ภาพสะท้อนปัญหาการค้ามนุษย์ของอินเดีย

ในวันที่ ‘คังคุไบ’ กำลังเป็นกระแส ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก สะท้อนปัญหาการค้ามนุษย์และการค้าประเวณี ปัญหาที่ฝังรากลึกในอินเดียมานาน จากทั้งปัญหาความยากจน และค่านิยมทางสังคมและศาสนา ผ่านเรื่องราวของคังคุไบ รวมทั้งความพยายามขจัดปัญหาดังกล่าวในปัจจุบันของรัฐบาลอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

24 May 2022

World

19 May 2022

ชาวสแกนดิเนเวียอพยพในแอฟริกาใต้

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ เดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น เล่าถึงการอพยพข้ามถิ่นฐานของชาวสแกนดิเนเวียไปยังแอฟริกาใต้ ที่แม้ผู้อพยพอาจมีจำนวนไม่มากนักเมื่อเทียบกับจำนวนคนที่ย้ายไปสหรัฐฯ, บราซิลหรือประเทศอื่นๆ แต่ก็เป็นการอพยพที่นำมาซึ่งประวัติศาสตร์หลายๆ ด้าน หนึ่งในนั้นคือสงครามแบะการสร้างค่ายกักกันของจักรวรรดิอังกฤษด้วย

ปรีดี หงษ์สต้น

19 May 2022
1 28 29 30 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save