fbpx

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ "Journey to ASEAN Econ"

31 Aug 2022

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ EP.11 – ถอดบทเรียนอินโดนีเซีย: เผด็จการดีหรือไม่ดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ?

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ ถอดบทเรียนอินโดนีเซียในยุคเผด็จการซูฮาร์โต หาคำตอบว่าเผด็จการดีหรือไม่ดีต่อการพ

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

31 Aug 2022

Global Affairs

30 Aug 2022

‘ห้องครัว’ จากพื้นที่ครอบครัวสู่การขับเคี่ยวช่วงสงครามเย็น

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองดีเบตเรื่องห้องครัวสมัยสงครามเย็น ระหว่าง ริชาร์ด นิกสัน กับ นิกิตา ครุสชอฟ ที่งัดข้อดีของครัวแบบตัวเองมาเพื่อยืนยันหลักการทางการเมือง

มัธธาณะ รอดยิ้ม

30 Aug 2022

Europe

30 Aug 2022

ส.ส. อังกฤษสอบตกเพราะแก้ปัญหาหนี้สินการศึกษาให้ประชาชนไม่ได้

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงกรณี ส.ส. อังกฤษแพ้เลือกตั้ง เพราะไม่สามารถรักษาสัญญาแก้ไขปัญหาหนี้สินการศึกษาให้กับประชาชนได้

สมชัย สุวรรณบรรณ

30 Aug 2022

World

29 Aug 2022

75 ปีแห่งอิสรภาพ: ก้าวย่างสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง เส้นทางและบทเรียนของการพัฒนาอินเดียตลอด 75 ปีที่ผ่านมาหลังการประกาศอิสรภาพ พร้อมมองความเป็นไปได้ของวิสัยทัศน์ที่อินเดียต้องการเดินหน้าไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วในอีก 25 ปีข้างหน้าในวาระที่จะครบรอบ 100 ปีแห่งอิสรภาพ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Aug 2022

World

26 Aug 2022

ส่องอัฟกานิสถาน 1 ปี หลังฏอลิบานครองอำนาจ กับ จรัญ มะลูลีม

1 ปีล่วงผ่านหลังการกลับขึ้นมามีอำนาจของฏอลิบาน เศรษฐกิจ สิทธิเสรีภาพ และความมั่นคงในอัฟกานิสถานเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร? 101 สนทนากับ ศ.ดร.จรัญ มะลูลีม คณบดีวิทยาลัยนานาชาติอิสลามกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเกริก ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการตะวันออกกลางศึกษา ว่าด้วยสถานการณ์อัฟกานิสถานในปัจจุบันและความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในภูมิภาคตะวันออกกลางและเอเชียใต้

กรกมล ศรีวัฒน์

26 Aug 2022

Political Economy

25 Aug 2022

หลายคำถามต่อ Top Gun: หนัง เงิน อเมริกัน ฮีโร

อุกฤษฎ์ ปัทมานันท์ มองภาพยนตร์ Top Gun: Maverick ซึ่งเป็นตัวอย่างสะท้อนการใช้ระบบทุนนิยมดิจิทัลเป็นเครื่องมือขยายแนวคิดและอิทธิพลของสหรัฐฯ

อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์

25 Aug 2022

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ "Journey to ASEAN Econ"

25 Aug 2022

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ Ep.10 – รัฐวิสาหกิจ-กองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติ กับบทบาทรัฐในเศรษฐกิจอาเซียน

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ ชวนดูบทบาทของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจอาเซียน ผ่านรัฐวิสาหกิจและกองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติ

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

25 Aug 2022

Asean

23 Aug 2022

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับผู้แพ้ (1): มรดกตกค้างจากยุคอาณานิคม?

ณภัค เสรีรักษ์ เปิดซีรีส์ ‘ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับผู้แพ้’ เล่าเรื่องราวของขบวนการต่อต้านอำนาจ/แบ่งแยกดินแดนที่ไม่ประสบความสำเร็จ

ณภัค เสรีรักษ์

23 Aug 2022

World

21 Aug 2022

การคลี่คลายของสถาบันครอบครัวในสแกนดิเนเวีย

สำรวจสถาบันครอบครัวในสแกนดิเนเวียที่มีลักษณะเฉพาะตัวบางประการ ทำให้มีลักษณะคลี่คลายตนเองได้มากกว่าสถาบันครอบครัวในภูมิประเทศอื่นๆ ชวนอ่านคอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ โดย ปรีดี หงษ์สต้น ว่าด้วยรากฐานการก่อร่างสร้างสถาบันครอบครัวในแถบนอร์ดิค

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Aug 2022

Global Affairs

21 Aug 2022

สามก๊กการเมืองโลก: ประเทศไทยและอาเซียนอยู่ที่ตรงไหน

ปิติ ศรีแสงนาม และ แทนคุณ จิตต์อิสระ เปรียบเทียบการเมืองโลกในปัจจุบันกับสามก๊ก พร้อมมองหาตำแหน่งแห่งที่ของไทยและอาเซียนในสามก๊กการเมืองโลก

ปิติ ศรีแสงนาม

21 Aug 2022

World

19 Aug 2022

17 ปีสันติภาพที่อาเจะห์: สำรวจมุมมองและท่าทีของฝ่ายต่างๆ  

วันที่ 15 สิงหาคมที่ผ่านมา คือวันครบรอบ 17 ปีสันติภาพที่อาเจะห์หลังรัฐบาลอินโดนีเซียและขบวนการอาเจะห์เอกราชตัดสินใจยุติความรุนแรงที่เกิดขึ้นมานานร่วมสามทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ยังมีหลายฝ่ายที่มองว่าประวัติศาสตร์จะยังไม่ได้รับการชำระให้เรียบร้อยตราบใดที่เหยื่อจากความรุนแรงที่เกิดขึ้นยังไม่ได้รับการถูกพูดถึง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Aug 2022

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ "Journey to ASEAN Econ"

17 Aug 2022

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ Ep.9 – ความหลากหลายส่งผลอย่างไรต่อการพัฒนาเศรษฐกิจอาเซียน

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ ชวนสำรวจความหลากหลายในอาเซียน พร้อมตอบคำถามว่าความหลากหลายดีหรือไม่ดีอย่างไรต่อเศรษฐกิจอาเซียนบ้าง

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

17 Aug 2022

World

16 Aug 2022

การปรับคณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่น: นัยทางการเมืองหลังการลอบสังหารอาเบะ

อ่านเกมการเมืองญี่ปุ่นผ่านการปรับคณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่นเมื่อ 10 สิงหาคม 2565 ที่มีหลายเรื่องซ้อนกันอยู่ ทั้งการเมืองหลังการลอบสังหารอาเบะ และการขับเคลื่อนนโยบายเพื่อแก้วิกฤตหลายด้านที่ญี่ปุ่นกำลังเผชิญ

สุภา ปัทมานันท์

16 Aug 2022

World

15 Aug 2022

กว่าจะเป็น Neocon : ประวัติศาสตร์ย่นย่อของอนุรักษนิยมใหม่ในสหรัฐอเมริกา

ชุติเดช เมธีชุติกุล ชวนอ่านประวัติศาสตร์ฉบับย่นย่อของกลุ่ม ‘Neoconservatism’ หรือ ‘Neocon’ ในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่รุ่นที่หนึ่งจนถึงรุ่นที่สาม

ชุติเดช เมธีชุติกุล

15 Aug 2022

World

15 Aug 2022

ทางทฤษฎี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนและวิพากษ์ถึงข้อถกเถียง ‘ทางทฤษฎี’ ระหว่างทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกระแสหลักที่มีสหรัฐฯ และอังกฤษเป็นศูนย์กลาง กับ Global IR ที่เชื่อว่า ทุกส่วนในโลกควรมีโอกาสการเสนอความรู้จากตำแหน่งแห่งที่ของตัวเอง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Aug 2022
1 23 24 25 89

MOST READ

Global Affairs

29 Feb 2024

อย่าให้ทฤษฎีเป็นนายเรา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดสนทนาว่าด้วยหลากวิธีในการใช้ทฤษฎีเพื่อศึกษาการเมืองระหว่างประเทศ และข้อพึงระวังเพื่อไม่ให้ติดทฤษฎีกลายเป็นนายเรา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

29 Feb 2024

World

29 Feb 2024

มองผ่านน้ำตาท่านผู้นำ: ปัญหาอัตราเกิดต่ำในเกาหลีเหนือและนโยบายเพิ่มประชากรประเทศคอมมิวนิสต์

มัธธาณะ รอดยิ้ม พาไปย้อนดูนโยบายส่งเสริมการมีลูกของประเทศคอมมิวนิสต์ในอดีต เมื่อแนวคิดสวัสดิการส่งผลดีต่อการคิดจะมีลูก แต่ก็ไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่ทำให้คนตัดสินใจมีลูก

มัธธาณะ รอดยิ้ม

29 Feb 2024

World

5 Mar 2024

ญี่ปุ่นกับเงินซุกมุ้งใน LDP ที่กำลังเป็นกรณีอื้อฉาวใหม่ทางการเมือง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกรณี ‘เงินซุกมุ้ง’ ที่เป็นเรื่องอื้อฉาวระลอกใหม่ของพรรค LDP เพื่อเปิดไปสู่ ‘การเมืองเรื่องมุ้ง’ ในภาพใหญ่ ว่ามีความเป็นมาอย่างไรและมีบทบาทหน้าที่อะไรถึงได้กลายเป็นแบบแผนและสถาบันภายในพรรค LDP เรื่อยมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

5 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save