fbpx

World

25 Nov 2022

คิดไปทางไหนโลกหมุนไปทางนั้น? จากยูเครน ไต้หวัน สู่เวทีประชุมผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์สถานการณ์ความตึงเครียดในการเมืองโลก ผ่านโลกทัศน์แบบ ‘คิดไปทางไหนทำให้ความจริงเป็นไปตามนั้น’ ของรัฐมหาอำนาจ และสัญญาณการคลายลงของโลกทัศน์ดังกล่าวหลังการประชุมสุดยอด 3 เวทีใหญ่ที่ผ่านมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

25 Nov 2022

Interviews

24 Nov 2022

ยาสมิน ซัตตาร์ และปลายทางของการชุมนุม ‘สตรี-ชีวิต-อิสรภาพ’ ในอิหร่านที่อาจไม่ง่ายนัก

ภายหลังการเสียชีวิตของ มาห์ซา อามินี หญิงสาวที่ถูกตำรวจศีลธรรมจับกุมและทำร้ายจนเสียชีวิตเนื่องจากไม่สวมฮิญาบให้ตรงตามข้อกำหนด ประชาชนก็ลุกฮือขึ้นประท้วงในอิหร่านเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม และกลายเป็นการชุมนุมครั้งใหญ่ จนล่าสุดสมาชิกรัฐสภาลงนามเรียกร้องให้มีการออกโทษประหารชีวิตแก่ผู้ชุมนุม

101 สนทนากับ ผศ. ดร.ยาสมิน ซัตตาร์ ว่าด้วยการประท้วงในอิหร่าน ทิศทางการต่อสู้ในอิหร่าน และความหวังของเหล่าผู้ประท้วงในตะวันออกกลาง

พิมพ์ชนก พุกสุข

24 Nov 2022

World

24 Nov 2022

งานวิจัยจีนมีคุณภาพจริงหรือ? : มองสังคมการเมืองจีนผ่านโลกงานวิชาการ

101 ชวนอ่านงานวิจัยของ Daron Acemoglu, Jie Zhou และ David Yang เข้าไปศึกษาระบบโครงสร้างอำนาจแบบจีน มันส่งผลอย่างไรกับทิศทางและคุณภาพงานวิจัย

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

24 Nov 2022

World

23 Nov 2022

เกิดน้อย เลือกงาน คนอยากกลับบ้าน และโควิดเอ็ฟเฟ็กต์: มองปัญหาการขาดแคลนแรงงานในญี่ปุ่น 

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงภาวะขาดแคลนแรงงานในญี่ปุ่น ที่มีสาเหตุหลายอย่าง นอกเหนือไปจากโควิด-19

สุภา ปัทมานันท์

23 Nov 2022

World

22 Nov 2022

ASEAN Summit – G20 – APEC โลกได้อะไร? ไทยได้อะไร? กับ ปิติ ศรีแสงนาม

101 ชวน ปิติ ศรีแสงนาม สรุปและมองทิศทางภูมิรัฐศาสตร์โลกผ่านสามการประชุมใหญ่ จะนำพาโลกมีแนวโน้มไปในทิศทางไหน และไทยอยู่ตรงไหนในภูมิรัฐศาสตร์โลก

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

22 Nov 2022

World

22 Nov 2022

“การรับราชการทหารคือหน้าที่ศักดิ์สิทธิ์และความยุติธรรม” ข้อถกเถียงละเว้นเกณฑ์ทหารเกาหลี ในวันที่ซอฟต์พาวเวอร์คือการรับใช้ชาติ?

101 สำรวจข้อถกเถียงข้อเสนอละเว้นเกณฑ์ทหารเกาหลีต่อศิลปินที่สร้างชื่อเสียงให้ประเทศ ในโลกสมัยใหม่ รัฐบาล กองทัพ และประชาชนมีความคิดเห็นต่อการเกณฑ์ทหารอย่างไรบ้าง ติดตามได้จากบทความนี้

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

22 Nov 2022

Life & Culture

21 Nov 2022

บอลโลกในสนามการเมือง: การช่วงชิงความหมายของการแข่งขันฟุตบอลโลกในระบอบการเมืองเผด็จการ

ตฤณ ไอยะรา เขียนถึงฟุตบอลโลกอาร์เจนตินา 1978 และรัสเซีย 2018 ที่ล้วนปกครองด้วยระบอบเผด็จการในเวลาที่จัดการแข่งขัน เพื่อสะท้อนการช่วงชิงความหมายของการแข่งขันฟุตบอลโลกในระบอบการเมืองเผด็จการ

ตฤณ ไอยะรา

21 Nov 2022

World

21 Nov 2022

นอร์ดิกในยุคโรแมนติก

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนเล่าถึงช่วงเวลาการสร้างประวัติศาสตร์ชาตินิยมโรแมนติกของแถบนอร์ดิก ที่ขยับขยายขอบเขตข้ามเส้นแบ่งประเทศผ่านงานเขียนและการแปล

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Nov 2022

Asean

21 Nov 2022

ความเชื่อเรื่อง “นาค” ในอินโดนีเซีย

หลังจากรัฐบาลไทยกำหนดให้ ‘นาค’ เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ
อรอนงค์ ทิพย์พิมล จึงชวนสำรวจความเชื่อเรื่องนาคในอินโดนีเซีย ผ่านตำนานและเรื่องเล่าที่ส่งต่อกันมาหลายร้อยปี

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Nov 2022

World

18 Nov 2022

เลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ 2022 – จากการเมืองอเมริกาถึงเศรษฐกิจการเมืองโลก

อะไรคือประเด็นที่น่าสนใจจากการเลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ ที่ผ่านมา ดุลอำนาจการเมืองในสหรัฐฯ รวมไปถึงทิศทางการเมืองโลกจะเป็นอย่างไร ชวนหาคำตอบจากสามผู้เชี่ยวชาญที่ติดตามการเมืองอเมริกาอย่างใกล้ชิดผ่านการวิเคราะห์และความเห็นของ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และ ปกป้อง จันวิทย์

กองบรรณาธิการ

18 Nov 2022

World

17 Nov 2022

ตั้งแต่สิทธิมนุษยชนจนถึงธงสีรุ้ง มหากาพย์ดราม่า ณ กรุงกาตาร์ใน World Cup 2022

การมาถึงของฟุตบอลโลก 2022 ที่กาตาร์มาพร้อมข้อถกเถียงมากมาย นับตั้งแต่สภาพนักเตะที่น่วมไปทั้งตัวจากการตะบี้ตะบันลงเตะให้สโมสรและเวิลด์คัพ, ประเด็นการละเมิดสิทธิแรงงานข้ามชาติ, ธงสีรุ้งที่เคยจ่อจะถูกแบน ไปจนถึงวัฒนธรรมการดื่มแอลกอฮอล์ในกาตาร์ที่อาจไม่เป็นที่คุ้นเคยของแฟนบอลส่วนใหญ่เท่าไหร่

พิมพ์ชนก พุกสุข

17 Nov 2022

World

17 Nov 2022

‘คลื่นสีแดง’ หายไปไหนในการเลือกตั้งมิดเทอมสหรัฐฯ 2022?

รัชพงษ์ แจ่มจิรไชยกุล วิเคราะห์ การเลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ ว่าทำไม ‘คลื่นสีแดง’ จึงไม่เกิดขึ้นตามที่หลายฝ่ายคาดการณ์ และนั่นหมายถึงขาลงของพรรครีพับลิกันจริงหรือไม่?

รัชพงษ์ แจ่มจิรไชยกุล

17 Nov 2022

ASEAN บ่มีไกด์

16 Nov 2022

ASEAN บ่มีไกด์ EP.16: เลือกตั้งมาเลเซีย 2022 – ถึงเวลาคนรุ่นใหม่คุมเกม?

ASEAN บ่มีไกด์ พาไปดูคนรุ่นใหม่ในการเลือกตั้งมาเลเซีย 2022 เมื่อพวกเขากำลังก้าวขึ้นมาเป็นเสียงส่วนใหญ่ในการเลือกตั้งครั้งนี้

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

16 Nov 2022

World

15 Nov 2022

สัจนิยมกับความเป็นโศกนาฏกรรมของการเมืองระหว่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงทฤษฎีสัจนิยม ซึ่งครองความเป็นเจ้าในอาณาบริเวณการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาเกือบห้าสิบปี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Nov 2022

Asean

14 Nov 2022

เลือกตั้งมาเลเซีย GE15 ‘บิดาแห่งความไม่แน่นอนทั้งปวง’

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง ชวนมองการเมืองมาเลเซียก่อนการเลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ 19 พ.ย. 2565 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอน

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

14 Nov 2022
1 19 20 21 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save