fbpx

Global Affairs

2 Feb 2021

‘Beating the Crisis’ กับ ศุภวุฒิ สายเชื้อ

101 ชวน ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ ที่ปรึกษากลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร และผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่ม CARE วิเคราะห์เศรษฐกิจไทยในวันที่ยากลำบากที่สุด และพาไปมองภูมิทัศน์โลกในวันที่เจอวิกฤต เพื่อทำความเข้าใจว่าความเป็นไปทั้งหลายส่งผลต่อประเทศไทยอย่างไร

กองบรรณาธิการ

2 Feb 2021

Global Affairs

29 Jan 2021

ผ่าสมรภูมิการเมืองโลก 6 ภูมิภาค ในยุคการทูตวัคซีนเบ่งบาน

101 พาไปเจาะลึกสมรภูมิการเมืองระหว่างประเทศใน 6 ภูมิภาคของโลกในยุคการทูตวัคซีนเบ่งบาน พร้อมไปมองว่าแต่ละขั้วชาติมหาอำนาจกำลังเข้าไปเดินเกมในแต่ละพื้นที่กันอย่างไร

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

29 Jan 2021

Global Affairs

26 Jan 2021

สมรภูมิ IR บนโลกไซเบอร์ กับ จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

101 ชวน จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา นักศึกษาปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยจอร์จ วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ผู้สนใจเกี่ยวกับความมั่นคงระหว่างประเทศ สนทนาว่าด้วย ภูมิทัศน์ของการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ขยับขยายปริมณฑลไปสู่โลกดิจิทัล จนกลายเป็นอีกสมรภูมิแห่งการงัดข้อกันระหว่างชาติมหาอำนาจ รวมไปถึงความพยายามของประชาคมโลกในการหา ‘ความมั่นคงบนโลกไซเบอร์’ ท่ามกลางความปั่นป่วนและไม่ลงรอยในความไม่สมานฉันท์ระหว่างประชาชาติ

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

26 Jan 2021

Global Affairs

26 Jan 2021

เจาะสนามเกมการเมืองโลก เมื่อวัคซีนกลายเป็นอาวุธการทูต

101 ชวนวิเคราะห์ว่า สมรภูมิการเมืองโลกในยุคการทูตวัคซีนกำลังเดินหน้าไปทางใด ชาติไหนกระโดดเข้าร่วมการแข่งขันนี้บ้าง อะไรคือแรงจูงใจ ยุทธศาสตร์ และหมัดเด็ดของแต่ละชาติ

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

26 Jan 2021

Thai Politics

15 Jan 2021

จับตาอนาคตไทยและโลก ปี 2021 : วัคซีน-รอยต่อระเบียบโลก-เศรษฐกิจปั่น-การเมืองป่วน

เปิดวง Round Table ชวน อาร์ม ตั้งนิรันดร  ประจักษ์ ก้องกีรติ และพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย  มองปี 2021 ฝ่าวิกฤตที่อาจเรียกได้ว่าใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก

กองบรรณาธิการ

15 Jan 2021

Global Affairs

4 Jan 2021

เมื่อโรคป่วนโลก: มองย้อน 2020 ปีแห่งการรื้อถอนและสั่นคลอนระเบียบโลก

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย ชวนมองย้อนระเบียบโลกในปี 2020 เมื่อโรคเข้ามาป่วนโลกเช่นนี้ ดุลอำนาจในระเบียบโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร รวมถึงสำรวจสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในรอบปีที่ผ่านมา

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

4 Jan 2021

Global Affairs

2 Dec 2020

‘พวกรับทุนต่างชาติ’: ข้อถกเถียงว่าด้วยการเมืองของการมีต่างชาติอยู่เบื้องหลัง

สืบเนื่องจากที่บางองค์กรในไทยถูกโจมตีว่ารับเงินจากต่างชาติหรือมีต่างชาติแทรกแซงอยู่เบื้องหลัง นันทิพัฒน์ พรเลิศ ชวนสำรวจข้อถกเถียงและคำตอบในโลกยุคปัจจุบัน อันจะทำให้เข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในแง่มุมที่แตกต่างออกไปมากขึ้น

กองบรรณาธิการ

2 Dec 2020

Global Affairs

28 Oct 2020

75 ปี สิทธิมนุษยชน สันติภาพ และความร่วมมือโลกในมือ UN คุยกับ กษิร ชีพเป็นสุข

ในเดือนครบรอบการก่อตั้ง UN 101 ชวน ผศ.ดร. กษิร ชีพเป็นสุข อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนทนาย้อนเส้นทางการเปลี่ยนโลกของ UN ในรอบ 75 ปี และทำความเข้าใจความท้าทาย-ขีดจำกัดที่องค์กรระหว่างประเทศในวัย 75 ปีกำลังเผชิญอย่างหนักหน่วงท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Oct 2020

Global Affairs

6 Oct 2020

ว่าด้วยทวิตเตอร์และขบวนการ “ไร้หัว”: เหตุใดการประท้วงในโลกมีจำนวนมากขึ้นแต่ความสำเร็จน้อยลง?

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนมอง ขบวนการประท้วง ‘ไร้หัว’ ในยุคโซเชียลมีเดียว่าเหตุใดขบวนการประท้วงที่กระจายข่าวการรวมตัวได้อย่างรวดเร็วภายในเวลาอันสั้น เข้าถึงคนได้จำนวนมาก และโอบรับขบวนการที่แตกต่างหลากหลายได้ จึงเผชิญต่ออุปสรรคในการบรรลุเป้าหมายของขบวนการ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

6 Oct 2020

Global Affairs

27 Sep 2020

ถ้าหากไทยไม่ปรับ… ในระเบียบโลกที่เปลี่ยน…

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนพิจารณาระเบียบโลกที่เปลี่ยนแปลงไป พร้อมทั้งฉายภาพให้เห็นสถานการณ์เลวร้ายที่สุด หากประเทศไทยไม่ปรับตัวในระเบียบโลกที่เปลี่ยนแปลงนี้

ปิติ ศรีแสงนาม

27 Sep 2020

Global Affairs

11 Sep 2020

อ่านภาษาการต่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการใช้ภาษาในการต่างประเทศ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดบรรยากาศและตรรกะวิธีคิดในเจรจาทางการทูต การกำหนดนโยบายต่างประเทศ และยุทธศาสตร์ความมั่นคง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

11 Sep 2020

Global Affairs

11 Sep 2020

จากแฟนพันธุ์แท้สงครามถึงผู้ประสานงานการซ้อมรบกองทัพไทย-สหรัฐฯ และโลกความมั่นคงหลัง 9/11 – คุยกับณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์

ในโอกาสครบรอบ 19 ปีเหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน 101 ชวน ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์ สนทนากันยาวๆ ทั้งในฐานะแฟนพันธุ์แท้สงครามเกาหลี ผู้ประสานงานการซ้อมรบกองทัพไทย-สหรัฐฯ และโลกความมั่นคงหลัง 9/11

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

11 Sep 2020

Global Affairs

6 Sep 2020

ใครเป็นเจ้าแพลตฟอร์ม?

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนเรื่องการช่วงชิงความเป็นเจ้าแพลตฟอร์มระหว่างสหรัฐฯ-จีน ซึ่งไม่ได้จำกัดอยู่แค่เรื่องการค้าหรือเรื่องเทคโนโลยี แต่มีพื้นฐานความขัดแย้งเป็นเรื่องการช่วงชิงความเป็นมหาอำนาจโลก

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Sep 2020

Economic Focus

2 Sep 2020

ระเบียบโลกที่เปลี่ยนแปลง ไทยต้องเผชิญหน้ากับอะไร?

ปิติ ศรีแสงนาม เปิดผลงานวิจัยเกี่ยวกับสถานการณ์และฉากทัศน์ของการเปลี่ยนแปลงระเบียบโลกใหม่ เพื่อดูว่าระเบียบโลกจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด และไทยจะอยู่ในสภาพแวดล้อมดังกล่าวได้อย่างไรบ้าง

ปิติ ศรีแสงนาม

2 Sep 2020
1 7 8 9 16

RECOMMENDED

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

Social Issues

2 Apr 2024

สหภาพแรงงานการศึกษาในสิงคโปร์: พลังต่อต้านในยุคอาณานิคมที่ถูกเลือกปฏิบัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการสหภาพแรงงานครูในสิงคโปร์ ตั้งแต่เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมลายา จนกระทั่งแยกตัวออกมาในฐานะชาติใหม่ พร้อมสำรวจเส้นทางการต่อสู้ที่หยั่งรากมาตั้งแต่ช่วงอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

2 Apr 2024

Europe

21 Mar 2024

มอดไหม้ในสแกนดิเนเวีย 

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ เดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนย้อนสำรวจยุคแห่งการ ‘ล่าแม่มด’ ในสแกนดิเนเวีย ยุคที่ใครก็ตามซึ่งต้องสงสัยว่ามีการกระทำอัน ‘บ่อนทำลาย’ อาจถูกไล่ล่าและประหารชีวิต!

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save